ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ศรีคำ002 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 34:
== วัยเยาว์และการศึกษา ==
 
เจ้าหญิงโจเซฟีน-ชาร์ล็อตประสูติเมื่อในวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2470]]1927 ณ พระราชวังหลวง [[บรัสเซลส์|กรุงบรัสเซลส์]] เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในดยุกแห่งบราบันต์ (สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่พระเจ้าเลออปอลที่ 3) และดัชเชสแห่งบราบันต์ พระวรชายา (เจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดนอัสตริดแห่งสวีเดน) อีกทั้งยังเป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม]]ด้วย ในวัยเยาว์พระองค์ประทับในปราสาทสตุยเว็นแบร์ก อันเป็นตำหนักของพระชนกและพระชนนีในเขตพระราชฐานของเมืองเลเค็น และที่กรุงสต็อกโฮล์ม อันเป็นที่ประทับของเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งวาสเตอร์เกิตแลนด์ และ เจ้าหญิงอินเกบอร์กแห่งเดนมาร์ก พระอัยกาและพระอัยยิกา ในวันที่ [[23 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2477]]1934 พระชนกเสวยราชสมบัติสืบต่อพระบรมอัยกาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่พระเจ้าเลออปอลที่ 3 แห่งเบลเยียม และในปีต่อมา เมื่อพระชนกและพระชนนีเสด็จประพาส[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]เป็นการส่วนพระองค์ สมเด็จพระราชินีแอสตริดอัสตริดได้สิ้นพระชนม์จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ เมื่อรถพระที่นั่งสูญเสียการควบคุมบริเวณโค้งอันตรายบนถนนที่ลมแรงและแคบ
 
เจ้าหญิงทรงเข้าโรงเรียนครั้งแรกที่พระราชวังหลวง ที่มีห้องเรียนเล็กๆ ห้องหนึ่งจัดไว้สำหรับพระองค์ ต่อมาในปลายปี [[พ.ศ. 2483]]1940 พระองค์ทรงเข้าเรียนในโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งและจากนั้นได้ทรงศึกษากับพระอาจารย์ส่วนพระองค์อีกหลายคน เมื่อวันที่ [[7 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2483]]1940 หลังจากกองกำลัง[[สัมพันธมิตร]]ขึ้นบกที่เมืองนอร์มังดี [[ประเทศฝรั่งเศส]] เจ้าหญิงและพระชนกทรงถูกส่งที่[[ประเทศเยอรมนี]]และถูกกักบริเวณภายในตำหนัก สมาชิกในพระราชวงศ์ทั้งหมด อันมีพระอนุชาทั้งสองคือ เจ้าชายโบดวงและเจ้าชายอัลแบรต์อัลแบร์ รวมไปถึง[[ลิเลียน บาเอลส์เจ้าหญิงแห่งเรตี|แมรี ลิเลียน บาเอลส์]] เจ้าหญิงแห่งเรธีตี พระมารดาเลี้ยง ได้รับอิสรภาพในวันที่ [[7 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2488]]1945 และได้เสด็จไปประทับที่[[เมืองเพรนญี]] ใกล้กับ[[เจนีวา|เมืองเจนีวา]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] อันเนื่องมาจากปัญหาเกี่ยวกับการร่วมมือที่ถูกกล่าวอ้างของกษัตริย์เลโอโพลด์กับเลออปอลกับ[[นาซีเยอรมัน]]ทำให้ไม่สามารถเสด็จกลับ[[ประเทศเบลเยียม]]ได้ จึงได้ทรงแต่งตั้งให้[[เจ้าชายชาร์ลส์แห่งเบลเยียม|เจ้าชายชาร์ลส์]] พระอนุชาเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ขณะที่ทรงลี้ภัย
 
เจ้าหญิงโจเซฟีน-ชาร์ล็อตทรงศึกษาต่อใน École Supérieure de Jeunes Filles เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แล้วทรงศึกษาวิชา[[จิตวิทยาเด็ก]]ที่[[มหาวิทยาลัยเจนีวา]] เมื่อเสด็จกลับประเทศเบลเยียม พระองค์ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจทางการนานัปการ ในขณะเดียวกันก็ทรงอุทิศพระองค์กับปัญหาด้านสังคม และพัฒนาความสนพระทัยในศิลปะเพิ่มมากขึ้นด้วย