ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินอิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
d
{{Infobox Chinese
| title = '''พินอิน'''
| c = {{linktext|拼音}}
| p = Pīnyīn
| w = P&lsquo;in<sup>1</sup>-yin<sup>1</sup>
| mi = {{IPAc-cmn|p|in|1|.|yin|1}}
| poj = peng-im/pheng-im
| bpmf = ㄆㄧㄣ ㄧㄣ
| h = pin<sup>24</sup> im<sup>24</sup>
| y = Pingyām
| ci = {{IPAc-yue|p|ing|3|-|j|am|1}}
| j = Ping3jam1
| sl = Ping<sup>3</sup>yam<sup>1°</sup>
| gd = Ping<sup>3</sup>yem<sup>1</sup>
| wuu = phin<sup>平</sup> in<sup>平</sup>
| altname = ตัวเขียนสำหรับสัทตัวอักษรจีน
| s2 = {{linktext|汉语|拼音|方案}}
| t2 = {{linktext|漢語|拼音|方案}}
| p2 = Hànyǔ Pīnyīn Fāng'àn
| mi2 = {{IPAc-cmn|h|an|4|.|yu|3|-|p|in|1|.|yin|1|-|f|ang|1|.|an|4}}
| w2 = Han<sup>4</sup>-yü<sup>3</sup> P&lsquo;in<sup>1</sup>-yin<sup>1</sup> Fang<sup>1</sup>-an<sup>4</sup>
| bpmf2 = ㄏㄢˋ ㄩˇ ㄆㄧㄣ ㄧㄣ ㄈㄤ ㄢˋ
| h2 = hon<sup>55</sup> ngi<sup>24</sup> pin<sup>24</sup> im<sup>24</sup> fong<sup>24</sup> on<sup>55</sup>
| poj2 = hàn-gú pheng-im hong-àn
| y2 = Honyúh Pingyām Fōng'on
| ci2 = {{IPA-yue|hɔ̄ːn.y̬ː pʰēŋ.jɐ́m fɔ́ːŋ.ɔ̄ːn|}}
| j2 = Hon3jyu5 Ping3jam1 Fong1on3
| sl2 = Hon<sup>3</sup>yue<sup>5</sup> Ping<sup>3</sup>yam<sup>1°</sup> Fong<sup>1°</sup>on<sup>3</sup>
| gd2 = Hon<sup>3</sup>yu<sup>5</sup> Ping<sup>3</sup>yem<sup>1</sup> Fong<sup>1</sup>on<sup>3</sup>
| wuu2 = hoe<sup>去</sup> nyiu<sup>上</sup> phin<sup>平</sup> in<sup>平</sup> faon<sup>平</sup> oe<sup>去</sup>
|order=st}}
'''พินอิน''' หรือ '''ฮั่นยฺหวี่พินอิน''' ({{zh-all|t=漢語拼音|s=汉语拼音|p=Hànyǔ Pīnyīn}}; {{จู้อิน|h|an|4}} {{จู้อิน|จู้อิน=|y|yu|3}} {{จู้อิน|จู้อิน=|p|in|1}} {{จู้อิน|จู้อิน=|y|in|1}} แปลว่า ''สะกดเสียงภาษาจีน'') คือระบบในการถอดเสียง[[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีนมาตรฐาน]] ด้วยตัว[[อักษรโรมัน|อักษรละติน]] ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์)
 
พินอินเริ่มต้นในปี [[พ.ศ. 2501]] และเริ่มใช้กันในปี [[พ.ศ. 2522]] โดย รัฐบาลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบ[[จู้อิน]] นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย
 
นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาล[[สิงคโปร์]] [[หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน]] และ[[สมาคมหอสมุดอเมริกัน]] โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี [[พ.ศ. 2522]] [[องค์การมาตรฐานนานาชาติ]] (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese)
 
สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย
 
ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียน[[คำทับศัพท์ภาษาจีน]]
 
== ต้นพยางค์ (เสียงพยัญชนะต้น) ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พินอิน"