ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรวาลวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YurikBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: et, ru, ta
จักรวาล -> เอกภพ
บรรทัด 1:
'''จักรวาลวิทยา''' (เป็นการศึกษา[[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษเอกภพ]]:<!-- Cosmology) เป็นการศึกษา([[จักรวาล:en:universe|universe]]) -->โดยรวม ซึ่งนับว่าเป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นพื้นฐานที่สุดในเวลาเดียวกัน จักรวาลวิทยามุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาลเอกภพ พร้อมกับพยายามที่จะอธิบายความเป็นมาของจักรวาลเอกภพในอดีต และทำนายความเป็นไปของจักรวาลเอกภพในอนาคต จักรวาลเอกภพเป็นอย่างไร จักรวาลเอกภพมีขอบเขตจำกัดหรือไม่ จักรวาลเอกภพเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใดจักรวาลเอกภพจึงมีรูปร่างลักษณะอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และอนาคตข้างหน้าจักรวาลเอกภพจะเป็นอย่างไร ปัญหาเหล่านี้คือสิ่งที่นักจักรวาลวิทยาทั้งหลายสนใจ
 
จักรวาลวิทยาในความหมายที่กว้างที่สุด จะหมายถึงการทำความเข้าใจจักรวาลเอกภพโดยอาศัย[[ความรู้]]จากหลาย[[รายการแขนงความรู้|สาขาวิชา]] ไม่ว่าจะเป็น [[วิทยาศาสตร์]] [[ปรัชญา]] [[ศาสนา]] หรือ[[ศิลปะ]] แต่โดยทั่วไปในปัจจุบัน จักรวาลวิทยาจะหมายถึงการศึกษาจักรวาลเอกภพโดยใช้[[กระบวนการทางวิทยาศาสตร์]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน[[ฟิสิกส์]]และ[[ดาราศาสตร์]] ซึ่งถือว่าเป็นสองเครื่องมือสำคัญในการใช้ศึกษาจักรวาลเอกภพ เป็นที่ยอมรับกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า ยิ่งเรามีความรู้ทางด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์มากขึ้นเท่าใด เราก็จะยิ่งมีความเข้าใจในจักรวาลเอกภพมากขึ้นเท่านั้น
 
[[มโนทัศน์]]เกี่ยวกับจักรวาลเอกภพของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย [[อียิปต์โบราณ|ชาวอียิปต์โบราณ]]เชื่อว่าจักรวาลเอกภพประกอบด้วย[[โลก]]คือ[[เทพเจ้าเก็บ]] ซึ่งถูกโอบล้อมด้วย[[ท้องฟ้า]]คือ[[เทพเจ้านัท]] ต่อมาเมื่อ[[กรีกโบราณ|ชาวกรีกโบราณ]]ศึกษาท้องฟ้าและการโคจรของ[[ดาว|ดวงดาว]]มากขึ้น เขาก็สามารถสร้างแบบจำลองจักรวาลเอกภพที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษานั้น โดยให้โลกเป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาลเอกภพ และมี[[พระจันทร์]] [[พระอาทิตย์]] รวมทั้ง [[ดาวฤกษ์]] [[ดาวเคราะห์]]ทั้งหลาย โคจรอยู่รายล้อม [[แบบจำลองโลกเป็นศูนย์กลาง]]<!-- ([[:en:geocentric|geocentric]]) -->นี้เป็นที่ยอมรับกันมานับพันปี ก่อนที่[[นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส|โคเปอร์นิคัส]]จะเสนอแบบจำลองใหม่ที่ให้[[แบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง|ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]]<!-- ([[:en:heliocentric|heliocentric]]) --> ด้วยเหตุผลว่าแบบจำลองนี้ใช้การคำนวณที่ซับซ้อนน้อยกว่า{{อ้าง|1}} จะเห็นว่าความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นนั้นทำให้มนุษย์มองโลกและจักรวาลเอกภพต่างออกไป
 
การศึกษาจักรวาลเอกภพก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] เพราะในศตวรรษนี้มีทั้ง[[ทฤษฎี]]ใหม่ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของจักรวาลเอกภพมากขึ้น เช่น [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] และ[[ควอนตัมฟิสิกส์]] รวมทั้งมีการค้นพบหลายสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการจักรวาลวิทยา เช่น การค้นพบว่า[[การขยายตัวของเอกภพ|จักรวาลเอกภพกำลังขยายตัว]] หรือการค้นพบ[[การแผ่รังสีคอสมิกไมโครเวฟเบื้องหลัง]]<!-- ([[:en:Cosmic microwave background radiation|Cosmic microwave background radiation]]) --> เป็นต้น ทั้งทฤษฎีและการค้นพบใหม่ ๆ เหล่านี้ทำให้ภาพของจักรวาลเอกภพในใจมนุษย์นั้นกระจ่างแจ่มชัดและใกล้เคียงความจริงยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามก็ต้องยอมรับว่าสิ่งที่มนุษย์รู้เกี่ยวกับจักรวาลเอกภพนั้นยังน้อยมาก และยังคงมีอีกหลายปัญหาในทางจักรวาลวิทยาที่ยังคงเป็นปริศนาอยู่ในปัจจุบัน
 
[[มนุษย์]]มักจะมีคำถามคำถามหนึ่งขึ้นในใจตัวเองอยู่เสมอว่า ''เรามาจากไหน เราคือใคร และเรากำลังจะไปไหน''{{อ้าง|2}} บางครั้งบางที จักรวาลวิทยาอาจจะเป็นกุญแจสำคัญดอกหนึ่งที่จะไขคำตอบของคำถามเหล่านี้ในระดับมหภาคก็เป็นได้