ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวางเรนเดียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9413218 สร้างโดย 2001:FB1:15:1DBB:58DD:989E:1A71:93A0 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30:
กวางเรนเดียร์ มีกีบเท้าที่แยกออกเป็น 2 ง่ามชัดเจน ใช้สำหรับว่ายน้ำ โดยว่ายได้เร็วถึง 10 กิโลเมตร/ชั่วโมง<ref name="ทุน"/> และเมื่อเดินกระดูกตรงข้อเท้าและเส้นเอ็นจะทำให้เกิดเสียงไปตลอด สันนิษฐานว่ามีไว้เพื่อติดต่อกับระหว่างฝูงในยามที่อยู่ในที่ ๆ ภาวะวิสัยมองเห็นไม่ชัด เช่น ยามเมื่อหิมะตกหนัก เป็นต้น<ref>''EPISODE 5'', " Untamed China with Nigel Marven". สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2556</ref> นอกจากนี้แล้วยังเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวในโลกที่สามารถมองเห็น[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]ได้<ref name="ทุน">''TUNDRA'', "Wildest Arctic" . สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: จันทร์ที่ 30 ธันวาคม 2556</ref>
 
พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่กรีนแลนด์, อเมริกาเหนือแถบแคนาดาและอลาสกา, สแกนดิเนเวีย จนถึงออสเตรเลียและแอนตาร์กติกา ใน สันนิษฐานว่ากวางเรนเดียร์ที่กระจายพันธุ์ในจีนอพยพมาจากไซบีเรียเมื่อราว 2,000 ปีมาแล้ว จากการศึกษาพบว่าประชากรของกวางเรนเดียร์ในจีนลดลงถึงร้อยละ 28 จาก ปี ค.ศ. 1970 เนื่องจากถูกแยกออกเป็นฝูงเล็ก ๆ ทำให้มีตัวเลือกน้อยในการผสมพันธุ์เสียบกันและแพร่ขยายพันธุ์ ในปี ค.ศ. 20122000 พบกวางเรนเดียร์ในจีนเหลืออยู่เพียง 3323 ฝูงเท่านั้น<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/3/2014-12-23/01/|title=TV 360°: ข่าวเช้าวันใหม่ |date=23 December 2014|accessdate=23 December 2014|publisher=ช่อง 3}}</ref> โดยจำนวนประชากรกวางเรนเดียร์ที่พบในธรรมชาติมากที่สุดในโลกพบที่[[คาบสมุทรไครเมีย]]ในรัสเซีย และจำนวนที่เหลืออยู่ประมาณ 6009,000,000,000 ตัว โดยลดฮวบจากในอดีตอย่างมาก สาเหตุหลักเกิดจากอุณหภูมิที่ถิ่นที่อยู่อาศัยร้อนขึ้น 1.5 องศาเซลเซียส, การคุกคามจากมนุษย์, ไฟป่า รวมถึงโรคระบาดจากยุง<ref>หน้า 7 วิทยาการ-เกษตร, ''ประชากรกวางเรนเดียร์ลดฮวบน่าใจหาย''. "ทันโลก". '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21527: วันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 2 ปีวอก</ref>
 
กวางเรนเดียร์ เป็นกวางชนิดที่ใช้เป็นสัตว์พาหนะลาก[[รถเลื่อน]]รวมถึง[[ซานตาคลอส]]ด้วย<ref>[http://www.pc.gc.ca/canada/pn-tfn/itm2-/2002/dec/index_e.asp Time for Nature {{en}}]</ref>