ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบคทีเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47:
ในมนุษย์และสัตว์ส่วนมากมีแบคทีเรียอาศัยอยู่ในท่อ[[ทางเดินอาหาร]]และ[[ผิวหนัง]]เป็นจำนวนมาก<ref>{{cite journal | vauthors = Sears CL | title = A dynamic partnership: celebrating our gut flora | journal = Anaerobe | volume = 11 | issue = 5 | pages = 247–51 | date = October 2005 | pmid = 16701579 | doi = 10.1016/j.anaerobe.2005.05.001 }}</ref> แบคทีเรียส่วนใหญ่ที่อยู่ในร่างกายถูกทำให้ไร้พิษภัยโดยผลของ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]] บางชนิด[[โพรไบโอติก|ให้ประโยชน์]]ต่อร่างกาย โดยเฉพาะที่อยู่ในทางเดินอาหาร อย่างไรก็ตาม มีแบคทีเรียบางสปีชีส์เป็นเชื้อที่ก่อ[[โรคติดเชื้อ]] อาทิ [[อหิวาตกโรค]] [[ซิฟิลิส]] [[แอนแทรกซ์]] [[โรคเรื้อน]] [[กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง]] โรคอันตรายถึงที่เกิดจากแบคทีเรียที่พบได้บ่อยคือ [[โรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ]] [[วัณโรค]]เพียงอย่างเดียวคร่าชีวิตประมาณ 2 ล้านคนในแต่ละปี ส่วนใหญมาจาก[[แอฟริกาใต้สะฮารา]]<ref>{{cite web|url =https://www.who.int/healthinfo/bodgbd2002revised/en/index.html|title = 2002 WHO mortality data|access-date = 20 January 2007|url-status = live|archive-url = https://web.archive.org/web/20131023060502/http://www.who.int/healthinfo/bodgbd2002revised/en/index.html|archive-date = 23 October 2013|df = dmy-all}}</ref> ยาปฏิชีวนะถูกใช้เพื่อรักษา[[การติดเชื้อ]]แบคทีเรีย และยังมีการใช้ในภาคเกษตรกรรมอีกด้วย ทำให้[[แบคทีเรียดื้อยา]]เป็นปัญหามากยิ่งขึ้น ในภาคอุตสาหกรรม แบคทีเรียมีความสำคัญต่อ[[การบำบัดน้ำเสีย]]และการย่อยสลายคราบ[[การรั่วไหลของน้ำมัน|น้ำมันรั่วไหล]], การผลิต[[ชีส]]และ[[โยเกิร์ต]]ด้วย[[การหมัก (ชีวเคมี)|การหมัก]], การนำ[[ทอง]] [[พัลลาเดียม]] [[ทองแดง]] และโลหะอื่น ๆ กลับมาใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่<ref>{{cite news|title=Metal-Mining Bacteria Are Green Chemists|url=https://www.sciencedaily.com/releases/2010/09/100901191137.htm|newspaper=Science Daily|date=2 September 2010|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170831041203/https://www.sciencedaily.com/releases/2010/09/100901191137.htm|archive-date=31 August 2017|df=dmy-all}}</ref>และ[[เทคโนโลยีชีวภาพ]], และการผลิต[[ยาปฏิชีวนะ]]กับสารเคมีอื่น ๆ<ref>{{cite journal | vauthors = Ishige T, Honda K, Shimizu S | title = Whole organism biocatalysis | journal = Current Opinion in Chemical Biology | volume = 9 | issue = 2 | pages = 174–80 | date = April 2005 | pmid = 15811802 | doi = 10.1016/j.cbpa.2005.02.001 }}</ref>
 
ปัจจุบันแบคทีเรียถูกจัดเป็น[[โพรแคริโอต]] จากแต่เดิมที่ถือว่าเป็น[[พืช]]ที่อยู่ในชั้น Schizomycetes (เห็ดราที่แบ่งตัวแบบฟิชชัน) แบคทีเรียไม่มี[[นิวเคลียสของเซลล์|นิวเคลียส]] น้อยนักที่จะพบ[[ออร์แกเนลล์]]ที่มี[[เยื่อหุ้มเซลล์|เยื่อหุ้ม]] ซึ่งแตกต่างจากสัตว์และ[[ยูแคริโอต]]อื่น ๆ แม้เดิมคำว่า ''แบคทีเรีย'' จะหมายถึงโพรแคริโอตทุกชนิด [[การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์]]ก็ได้เปลี่ยนไปนับตั้งแต่การค้นพบในทศวรรษ 1990 ว่าโพรแคริโอตประกอบไปด้วยสองกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันมาก ซึ่ง[[วิวัฒนาการ|วิวัฒน์]]มาจาก[[Last universal common ancestor|บรรพบุรุษเดียวกัน]] โดยมีชื่อเรียก[[โดเมน (ชีววิทยา)|โดเมน]]ว่า''แบคทีเรีย'' และ''[[อาร์เคีย]]'' ซึ่งแตกต่างกันมาก แต่[[วิวัฒนาการ|วิวัฒน์]]มาจาก[[Last universal common ancestor|บรรพบุรุษเดียวกัน]]<ref name="Woese">{{cite journal | vauthors = Woese CR, Kandler O, Wheelis ML | title = Towards a natural system of organisms: proposal for the domains Archaea, Bacteria, and Eucarya | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 87 | issue = 12 | pages = 4576–79 | date = June 1990 | pmid = 2112744 | pmc = 54159 | doi = 10.1073/pnas.87.12.4576 | bibcode = 1990PNAS...87.4576W }}</ref>
 
{{Wikispecies|Bacteria}}