ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จริยธรรมแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 3:
'''จริยธรรมแพทย์''' เป็นสาขาหนึ่งของ[[จริยศาสตร์]]ประยุกต์ ซึ่งวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิบัติทางคลินิกและการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้อง คุณค่าในจริยธรรมแพทย์ประกอบด้วยความเคารพใน[[autonomy|เจตจำนงบุคคล]] (autonomy), การไม่กระทำอันตราย (non-maleficence), [[Beneficence (ethics)|การทำในสิ่งที่เป็นคุณ]] (beneficence) และ [[ความยุติธรรม]] (justice)<ref name=":15">{{Cite journal|last=Beauchamp|first=J.|year=2013|title=Principles of Biomedical Ethics|journal=Principles of Biomedical Ethics|volume=7}}</ref> จริยธรรมแพทย์มีส่วนในการวางแผนดำเนินงานทางการรักษาและบริการสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์ เช่นแพทย์และพยาบาล<ref>{{Cite journal|last=Weise|first=Mary|year=2016|title=Medical Ethics Made Easy|journal=Professional Case Management|volume=21|issue=2|pages=88–94|doi=10.1097/ncm.0000000000000151|pmid=26844716|s2cid=20134799}}</ref> โดยหลักการสี่ข้อนี้ไม่ได้มีข้อใดที่สูงหรือสำคัญกว่าข้อใด ทั้งหมดล้วนสำคัญและจำเป็นในฐานะหลักกลางของจริยธรรมแพทย์<ref name=":0">{{cite web|url=https://depts.washington.edu/bioethx/tools/princpl.html|title=Bioethic Tools: Principles of Bioethics|website=depts.washington.edu|access-date=2017-03-21|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170510052851/http://depts.washington.edu/bioethx/tools/princpl.html|archive-date=2017-05-10}}</ref> เพราะฉะนั้น ความย้อนแย้งในทางจริยธรรมจึงเกิดขึ้นเมื่อมีความจำเป็นต้องจัดเรียงความสำคัญระหว่างหลักจริยธรรมสี่ข้อ เพื่อประกอบการตัดสินใจให้ได้ผลทางจริยธรรมากที่สุด<ref name=":2">{{Cite journal|last=Berdine|first=Gilbert|date=2015-01-10|title=The Hippocratic Oath and Principles of Medical Ethics|journal=The Southwest Respiratory and Critical Care Chronicles|language=en|volume=3|issue=9|pages=28–32–32|issn=2325-9205|doi=10.12746/swrccc.v3i9.185|doi-access=free}}</ref>
 
ในทางการแพทย์สากลมีหลักของจริยธรรมแพทย์ที่ยอมรับอยู่หลายชุด หลักชิ้นสำคัญปรากฏใน[[Hippocratic Oath|บทสาบานตนของฮิปโปคราตีส]] ซึ่งพูดคุยเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของการปฏิบัติวิชาชีพแพทย์<ref name=":2" /> คำสาบานตนนี้มีอายุราว 500 ปีก่อนคริสตกาล<ref>{{Cite journal|last=Riddick|first=Frank|date=Spring 2003|title=The Code of Medical Ethics of the American Medical Association|pmc=3399321|journal=The Ochsner Journal|volume=5 |issue=2|pages=6–10|pmid=22826677}}</ref> ส่วน[[Declaration of Helsinki|ปฏิญญาเฮลซิงกิ]] (1964) และ [[Nuremberg Code|แนวปฏิบัตินูเรมเบิร์กประมวลเนือร์นแบร์ก]] (1947) เป็นเอกสารว่าด้วยจริยธรรมแพทย์ชิ้นสำคัญสองชิ้น
 
== อ้างอิง ==