ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปลือกสมอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนการเรียงลำดับในหมวดหมู่:ซีรีบรัมคอร์เทกซ์ ให้เรียงด้วย ด้วยฮอทแคต
แก้ไข error อ้างอิงและปรับหมวดหมู่
บรรทัด 25:
}}
 
'''เปลือกสมอง'''<ref name=RoyalDict>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑"</ref>หรือ '''ส่วนนอกของสมองใหญ่'''<ref name=RoyalDict /> หรือ '''คอร์เทกซ์สมองใหญ่'''<ref name=RoyalDict1>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ cerebral ว่า "-สมองใหญ่" หรือ "-สมอง"</ref> หรือ '''เซรีบรัลคอร์เทกซ์''' หรือบางครั้งเรียกสั้น ๆ เพียงแค่ว่า '''[[คอร์เทกซ์]]''' (แต่คำว่า คอร์เทกซ์ สามารถหมายถึงส่วนย่อยส่วนหนึ่ง ๆ ในเปลือกสมองด้วย) ({{lang-en|Cerebral cortex}}, cortex, {{lang-lat|Cortex cerebri}}) เป็นชั้นเนื้อเยื่อ[[เซลล์ประสาท]]ชั้นนอกสุดของ[[ซีรีบรัม]] (หรือเรียกว่าเทเลนฟาลอน) ที่เป็นส่วนของ[[สมอง]]ใน[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]บางพวก เป็นส่วนที่ปกคลุมทั้ง[[ซีรีบรัม]]ทั้ง[[ซีรีเบลลัม]] มีอยู่ทั้งซีกซ้ายซีกขวาของสมอง เปลือกสมองมีบทบาทสำคัญใน[[memory|ระบบความจำ]] [[attention|ความใส่ใจ]] [[awareness|ความตระหนัก]] (awareness) [[ความคิด]] [[ภาษา]] และ[[consciousness|การรับรู้]] (consciousness) เปลือกสมองมี 6 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยเซลล์ประสาทต่าง ๆ กัน และการเชื่อมต่อกับสมองส่วนอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกัน เปลือกสมองของ[[มนุษย์]]มีความหนา 2-4 มิลลิเมตร <ref>{{Cite book
| last1 = Kandel | first1 = Eric R.
| first2 = James H. | last2 = Schwartz
บรรทัด 50:
เปลือกสมองเป็นอนุพันธ์ของ (คือมีวิวัฒนาการสืบมาจาก) [[pallium (neuroanatomy)|แพลเลียม]] (pallium<ref>ในประสาทกายวิภาค คำว่า '''แพลเลียม (pallium)''' หมายถึง[[เนื้อเทา]]และ[[white matter|เนื้อขาว]]ที่คลุมด้านบนของ[[ซีรีบรัม]]ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] เป็นส่วนของสมองที่มีการวิวัฒนาการไปเป็นส่วนสมองอื่น ๆ เช่นเปลือกสมองเป็นต้น</ref>) ซึ่งเป็นโครงสร้างมีหลายชั้นพบใน[[สมองส่วนหน้า]]ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ทั้งหมด แพลเลียมชนิดพื้นฐานเป็นชั้นรูปทรงกระบอกมีโพรงมีน้ำอยู่ภายใน รอบ ๆ ทรงกระบอกมีเขต 4 เขต ได้แก่ แพลเลียมด้านท้อง (ventral) แพลเลียมด้านใน (medial) แพลเลียมด้านหลัง (dorsal) และแพลเลียมด้านข้าง (lateral) ซึ่งมีสันนิษฐานว่า ก่อให้เกิด[[คอร์เทกซ์ใหม่]] [[ฮิปโปแคมปัส]] [[amygdala|อะมิกดะลา]] (amygdala) และ [[piriform cortex|คอร์เทกซ์รูปชมพู่]] (piriform cortex<ref name=piriform>'''คอร์เทกซ์รูปชมพู่ (piriform cortex)''' เป็นส่วนของ rhinencephalon ซึ่งอยู่ใน[[เทเลนเซฟาลอน]] ในมนุษย์ คอร์เทกซ์รูปชมพู่ประกอบด้วย[[amygdala|อะมิกดะลา]] [[uncus]] และ[[รอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส]]ส่วนหน้า คอร์เทกซ์รูปชมพู่มีหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้กลิ่น</ref>)
 
จนกระทั่งเร็ว ๆ นี้ ส่วนคล้ายกันของเปลือกสมองใน[[สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง]] ไม่ได้รับการยอมรับโดยนักวิทยาศาสตร์ แต่ว่า งานวิจัยที่พิมพ์ในวารสาร "เซลล์" ใน ค.ศ. 2010 แสดงว่า โดยวิเคราะห์[[gene expression|การแสดงออกของยีน]] (gene expression<ref>'''การแสดงออกของยีน (gene expression)''' คือ''ขบวนการ''ที่ข้อมูลต่าง ๆ ของ[[ยีน]] มีการนำมาใช้เพื่อการสังเคราะห์[[โปรตีน]]และ[[กรดไรโบนิวคลีอิก]] (RNA) อันเป็นผลิตภัณฑ์ของยีน</ref>) เปลือกสมองของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]และ[[mushroom bodies|สมองรูปเห็ด]] (mushroom bodies)<ref>'''สมองรูปเห็ด (mushroom bodies)''' หรือ corpora pedunculata เป็นโครงสร้างคู่ในสมองของ[[แมลง]]และ[[สัตว์ขาปล้อง]] เป็นส่วนของสมองที่มีบทบาทในการเรียนรู้กลิ่นและการจำกลิ่น</ref>ของ[[Nereididae|หนอนทราย]] มีความใกล้เคียงกัน<ref>{{cite journal|last1=Tomer|first1=R|last2=Denes|first2=AS|last3=Tessmar-Raible|first3=K|last4=Arendt|first4=D |author85=Tomer R, |author6=Denes AS, |author7=Tessmar-Raible K, |author8=Arendt D|title=Profiling by image registration reveals common origin of annelid mushroom bodies and vertebrate pallium |journal=[[Cell (journal)|Cell]] |year=2010 |volume=142|issue=5|pmid=20813265 |pages=800–809 |doi=10.1016/j.cell.2010.07.043}}</ref> สมองรูปเห็ดเป็นโครงสร้างในสมองของหนอนหลายจำพวกและของ[[สัตว์ขาปล้อง]] มีบทบาทสำคัญในการเรียนและการทรงจำ หลักฐานในงานวิจัยนี้ชี้ว่า วิวัฒนาการของเปลือกสมองและสมองรูปเห็ดมีจุดกำเนิดเดียวกัน ดังนั้น จึงแสดงว่า โครงสร้างตั้งต้นของเปลือกสมองเกิดขึ้นในสมัย[[มหายุคพรีแคมเบรียน]]
 
{{anchor|layered structure}} <!--กรุณาอย่าเปลี่ยน มีลิงก์มาจากที่อื่น-->
บรรทัด 62:
การย้อมสีโดยหน้าตัด (คือโดยภาคตัดขวาง) ของคอร์เทกซ์เปิดเผยตำแหน่งของตัวเซลล์ประสาท และแถบแอกซอนที่เชื่อมส่วนต่าง ๆ ในคอร์เทกซ์ เปิดโอกาสให้[[neuroanatomy|นักประสาทกายวิภาค]] ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำการพรรณนาอย่างละเอียดถึงโครงสร้างเป็นชั้น ๆ ของคอร์เทกซ์ใน[[สปีชีส์]]ต่าง ๆ หลังจากงานวิจัยของ[[Korbinian Brodmann|คอร์บิเนียน บร็อดแมนน์]]<ref>'''[[Korbinian Brodmann|คอร์บิเนียน บร็อดแมนน์]]''' เป็นนัก[[ประสาทวิทยา]][[ชาวเยอรมัน]]ที่มีชื่อเสียงในการแบ่งเปลือกสมองออกเป็น 52 เขต ตามลักษณะของตัวเซลล์ในเขตต่าง ๆ และเขตเหล่านั้น เรียกรวม ๆ กันว่า [[Brodmann areas|เขตบร็อดแมนน์]]</ref> ในปี ค.ศ. 1909 เซลล์ประสาทในเปลือกสมองก็มีการแบ่งออกเป็น 6 ชั้นหลัก ๆ เริ่มจากส่วนนอกที่เป็น[[เนื้อเทา]] ไปสุดยังส่วนในที่เป็น[[white matter|เนื้อขาว]] ซึ่งได้แก่
 
# ชั้นที่ 1 เรียกว่า ชั้นโมเลกุลาร์ (molecular layer) มีเซลล์ประสาทน้อยตัวที่กระจายออกไป และโดยมากประกอบด้วยกระจุกของ[[เดนไดรต์]]จากยอดของ[[pyramidal neuron|เซลล์ประสาทพีรามิด]] (pyramidal neuron) และแอกซอนที่ไปในแนวขวาง และ[[เซลล์เกลีย]]<ref name="Shipp_2007">{{Cite journal|last=Shipp|first=Stewart|title=Structure and function of the cerebral cortex|journal=Current Biology|pages=R443–9|date=2007-06-17|volume=17|issue=12|doi=10.1016/j.cub.2007.03.044|pmid=17580069|url=http://www.cell.com/current-biology/retrieve/pii/S0960982207011487|accessdate=2009-02-17}}</ref>. [[Cajal-Retzius cell|เซลล์ประสาทคาฮาล-เร็ตเซียส]] (Cajal-Retzius cell) และ[[stellate cells|เซลล์ประสาทรูปดาว]] (stellate cells) แบบมีหนามก็มีอยู่ในชั้นนี้ด้วย มีการสันนิษฐานว่า การเชื่อมต่อจากเซลล์ประสาทจากเขตอื่นมายังกระจุก[[เดนไดรต์]]ของยอด[[pyramidal neuron|เซลล์ประสาทพีรามิด]] เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการทำงานร่วมกันของเซลล์ต่าง ๆ ในเปลือกสมองที่มีบทบาทใน[[associated learning|การเรียนโดยสัมพันธ์]]<ref>'''การเรียนโดยสัมพันธ์ (associated learning)''' เป็นกระบวนการเรียนรู้ความสัมพันธ์กันระหว่าง[[ตัวกระตุ้น]]สองตัว หรือระหว่างพฤติกรรมกับตัวกระตุ้นตัวหนึ่ง</ref>และการใส่ใจ<ref>{{cite journal | doi = 10.1016/j.neuron.2007.05.019 | authorvauthors = Gilbert CD, Sigman M | year = 2007 | title = Brain states: top-down influences in sensory processing | url = | journal = Neuron | volume = 54 | issue = 5| pages = 677–96 | pmid = 17553419 }}</ref> แม้ว่า จะเคยเชื่อกันว่า การเชื่อมต่อที่เข้ามาสู่ชั้นที่ 1 มาจากเปลือกสมองเอง<ref>{{cite journal | doi = 10.1016/0166-4328(95)00032-1 | author = Cauller L | year = 1995 | title = Layer I of primary sensory neocortex: where top-down converges upon bottom-up | url = | journal = Behav Brain Res | volume = 71 | issue = 1–2| pages = 163–70 | pmid = 8747184 }}</ref> แต่เดี๋ยวนี้รู้กันแล้วว่า ชั้นที่ 1 ในผิวทั่วเปลือกสมองรับสัญญาณไม่ใช่น้อย จากเซลล์ประสาทใน[[ทาลามัส]]แบบเอ็ม (M-type) หรือที่เรียกว่า เซลล์ประสาทแบบเมทริกซ์<ref>{{cite journal | authorvauthors = Rubio-Garrido P, P?rez-de-Manzo F, Porrero C, Galazo MJ, Clasc?Clascá F | year = 2009 | title = Thalamic input to distal apical dendrites in neocortical layer 1 is massive and highly convergent | url = | journal = Cereb Cortex | volume = 19 | issue = 10| pages = 2380–95 | doi = 10.1093/cercor/bhn259 | pmid = 19188274 }}</ref> เมื่อเปรียบเทียบกับ เซลล์ประสาทแบบซี (C-type) หรือที่เรียกว่า เซลล์ประสาทแบบคอร์ (core) ซึ่งส่งสัญญาณไปในชั้นที่ 4<ref name="Jones">{{cite journal | doi = 10.1016/S0306-4522(97)00581-2 | author = Jones EG | year = 1998 | title = Viewpoint: the core and matrix of thalamic organization | url = | journal = Neuroscience | volume = 85 | issue = 2| pages = 331–45 | pmid = 9622234 }}</ref>
# ชั้นที่ 2 ที่เรียกว่า [[External granular layer (cerebral cortex)|ชั้นเซลล์ประสาทเล็กด้านนอก]] (External granular layer) ประกอบด้วย[[Pyramidal cell|เซลล์ประสาทพิรามิด]]ขนาดเล็ก ๆ และ[[stellate cells|เซลล์ประสาทรูปดาว]]เป็นจำนวนมาก
# ชั้นที่ 3 หรือชั้นเซลล์ประสาทพิรามิดด้านนอก (external pyramidal layer) ประกอบด้วย[[Pyramidal cell|เซลล์ประสาทพิรามิด]]ขนาดเล็กและกลางโดยมาก แต่ก็ยังประกอบด้วยเซลล์ที่ไม่ใช่เซลล์พิรามิดอย่างอื่นที่มี[[แอกซอน]]แนวตั้งเชื่อมต่อกับภายในคอร์เทกซ์. ชั้นที่ 1 และชั้นที่ 3 เป็นจุดหมายปลายทางหลักสำหรับ[[afferent nerve fiber|ใยประสาทนำเข้า]]จากคอร์เทกซ์สู่คอร์เทกซ์ที่มาจากอีกซีกสมองหนึ่ง และชั้นที่ 3 เป็นแหล่งกำเนิดหลักของ[[efferent nerve fiber|ใยประสาทนำออก]]จากคอร์เทกซ์สู่คอร์เทกซ์ที่ไปสู่อีกซีกสมองหนึ่ง
# ชั้นที่ 4 หรือที่เรียกว่า [[Granular layer (cerebral cortex)|ชั้นเซลล์ประสาทเล็กด้านใน]] (Granular layer) ประกอบด้วย[[stellate cells|เซลล์ประสาทรูปดาว]]และ[[Pyramidal cell|เซลล์ประสาทพิรามิด]] ชนิดต่าง ๆ และเป็นปลายทางหลักสำหรับใยประสาทนำเข้าจากทาลามัสสู่คอร์เทกซ์ จากเซลล์ประสาททาลามัสแบบซี<ref name="Jones"/> และสำหรับใยประสาทนำเข้าจากคอร์เทกซ์สู่คอร์เทกซ์ที่เชื่อมต่อกับสมองซีกเดียวกัน
# ชั้นที่ 5 หรือชั้นเซลล์ประสาทพิรามิดด้านใน (internal pyramidal layer) มี[[Pyramidal cell|เซลล์ประสาทพิรามิด]]ขนาดใหญ่ เช่น[[Betz cells|เซลล์เบ็ทซ์]] (Betz cells) ใน[[primary motor cortex|คอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ]] เป็นชั้นที่เป็นต้นกำเนิดหลักต่อใยประสาทนำออกที่ไปสู่เขตใต้เปลือกสมอง เพราะเหตุนั้น จึงมีเซลล์พิรามิดขนาดใหญ่ที่ส่งแอกซอนไปจากคอร์เทกซ์ลงผ่าน[[basal ganglia|ปมประสาทฐาน]] (basal ganglia) [[ก้านสมอง]] และ[[ไขสันหลัง]]
# ชั้นที่ 6 หรือชั้นหลายรูป (Polymorphic layer หรือ multiform layer) มี[[Pyramidal cell|เซลล์ประสาทพิรามิด]]ขนาดใหญ่บ้าง และมีเซลล์พิรามิดมีรูปร่างคล้ายกระสวย และเซลล์รูปร่างต่าง ๆ อย่างอื่น ชั้นที่ 6 ส่งใยประสาทนำออกไปยังทาลามัส เป็นการเชื่อมต่อซึ่งกันและกันระหว่างคอร์เทกซ์และทาลามัส<ref>Creutzfeldt, O. 1995. ''Cortex Cerebri''. Springer-Verlag.</ref> ใยประสาทที่นำออกนั้นเป็นทั้งแบบเร้าและแบบห้าม<ref name="Lam">{{cite journal | authorvauthors = Lam YW, Sherman SM | year = 2010 | title = Functional Organization of the Somatosensory Cortical Layer 6 Feedback to the Thalamus | url = | journal = Cereb Cortex | volume = 20 | issue = 1| pages = 13–24 | doi = 10.1093/cercor/bhp077 | pmc = 2792186 | pmid = 19447861 }}</ref> เซลล์ประสาทจากชั้น 6 นี้ ส่งใยประสาทแบบเร้าไปยังเซลล์ประสาทในทาลามัส และส่งใยประสาทที่เป็นสาขาไปยัง[[thalamic reticular nucleus|นิวเคลียสตาข่ายในทาลามัส]] (thalamic reticular nucleus) ที่มีฤทธิ์ห้ามเซลล์ประสาทในทาลามัสกลุ่มเดียวกันหรือที่อยู่ใกล้ ๆ กันนั่นแหละ เนื่องจากว่าฤทธิ์การห้ามของเซลล์ประสาทจากชั้น 6 ในเปลือกสมองนั้นลดลง เพราะสัญญาณทางเข้าไปยังเปลือกสมองที่สื่อโดย[[acetylcholine|อะเซ็ตทิลโคลีน]] กลไกเช่นนี้จึงเปิดโอกาสให้[[ก้านสมอง]] สามารถควบคุมระดับความเร้าของของสัญญาณจาก[[Posterior column-medial lemniscus pathway|วิถีประสาทคอลัมน์หลัง-เล็มนิสคัสกลาง]] (Posterior column-medial lemniscus pathway<ref>'''วิถีประสาทคอลัมน์หลัง-เล็มนิสคัสกลาง (Posterior column-medial lemniscus pathway)''' เป็นวิถีประสาทรับรู้ความรู้สึก มีหน้าที่ส่งสัญญาณเป็นต้นว่า การกระทบสัมผัสละเอียด ความสั่นสะเทือน และการรับรู้อากัปกิริยา จากร่างกายไปยังเปลือกสมอง ส่วนชื่อของวิถีประสาทมาจากโครงสร้างสองอย่าง ที่สัญญาณความรู้สึกรับการส่งผ่านไปยังเปลือกสมอง คือ [[posterior column|คอลัมน์ด้านหลัง]]ของ[[ไขสันหลัง]] และ[[medial lemniscus|เล็มนิสคัสด้านใน]] (medial lemniscus) ใน[[ก้านสมอง]]</ref>)<ref name="Lam"/> ซึ่งเป็นวิถีประสาทรับความรู้สึก กล่าวโดยอีกนัยหนึ่งคือ เปิดโอกาสให้ก้านสมองควบคุมระดับความรู้สึกนั่นเอง
 
ให้รู้ว่า ชั้นในคอร์เทกซ์นั้น ไม่ใช่เป็นเพียงแต่ชั้นที่ทำงานเป็นอิสระจากกันที่อยู่ซ้อน ๆ กันขึ้นไปเพียงเท่านั้น แต่ว่า มีการเชื่อมต่อระหว่างชั้นและระหว่างประเภทของนิวรอนที่เฉพาะเจาะจง และเป็นไปตลอดความหนาของคอร์เทกซ์ วงจรประสาทเล็ก ๆ เหล่านี้ แบ่งกลุ่มออกเป็น[[cortical columns|คอลัมน์ในคอร์เทกซ์]] (cortical columns)และ[[Cortical minicolumn|มินิคอลัมน์ในคอร์เทกซ์]] มินิคอลัมน์ในคอร์เทกซ์ได้รับการเสนอว่าเป็นหน่วยพื้นฐานโดยกิจ (คือเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่มีกิจเดียวกัน) ของคอร์เทกซ์<ref>{{cite journal | doi = 10.1093/brain/120.4.701 | author = Mountcastle V | year = 1997 | title = The columnar organization of the neocortex | url = | journal = Brain | volume = 120 | issue = 4| pages = 701–722 | pmid = 9153131 }}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1957 เวอร์นอน เมานต์แคสเติล แสดงให้เห็นว่า กิจของคอร์เทกซ์ในจุดที่อยู่ข้าง ๆ กัน สามารถเปลี่ยนไปได้อย่างฉับพลัน แต่ว่า ในแนวที่ตั้งฉากกับผิว กิจของคอร์เทกซ์นั้นมีความสืบต่อกัน งานวิจัยหลังจากนั้นได้ให้หลักฐานที่แสดงหน่วยพื้นฐานโดยกิจที่เรียกว่า [[cortical column|คอลัมน์ในคอร์เทกซ์]] ใน[[คอร์เทกซ์สายตา]] (ฮูเบลและวีเซล ค.ศ. 1959)<ref name="pmid14403679">{{cite journal |authorvauthors=HUBELHubel DH, WIESELWiesel TN |title=Receptive fields of single neurones in the cat's striate cortex |journal=J. Physiol. (Lond.) |volume=148 |issue= 3|pages=574–91 |yeardate=October 1959 |month=October |pmid=14403679 |pmc=1363130 |doi= |url=http://www.jphysiol.org/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=14403679}}</ref> [[auditory cortex|คอร์เทกซ์การได้ยิน]] (auditory cortex) และคอร์เทกซ์สัมพันธ์ (associative cortex)
 
เขตคอร์เทกซ์ที่ไม่มีชั้นที่ 4 เรียกว่า agranular (คือคอร์เทกซ์ที่ไม่มีชั้นเซลล์ประสาทเล็ก) และเขตที่มีชั้นที่ 4 ที่ไม่บริบูณ์เรียกว่า dysgranular (คือคอร์เทกซ์ที่มีชั้นเซลล์ประสาทเล็กผิดปกติ)<ref>S.M. Dombrowski , C.C. Hilgetag , and H. Barbas. [http://cercor.oxfordjournals.org/cgi/content/full/11/10/975 Quantitative Architecture Distinguishes Prefrontal Cortical Systems in the Rhesus Monkey].Cereb. Cortex 11: 975-988. "...they either lack (agranular) or have only a rudimentary granular layer IV (dysgranular)."</ref>
 
การประมวลข้อมูลของแต่ละชั้นมีการกำหนดโดยความถี่ทางกาลเวลาที่ไม่เหมือนกัน คือว่า ชั้น 2 และ 3 มีการแกว่ง (oscillation) อย่างช้า ๆ ที่ 2 [[เฮิรตซ์]] ในขณะที่ชั้น 5 มีความแกว่งอย่างเร็ว ๆ ที่ 10-15 [[เฮิรตซ์]]<ref>{{cite journal | authorvauthors = Sun W, Dan Y | year = 2009 | title = Layer-specific network oscillation and spatiotemporal receptive field in the visual cortex | url = | journal = Proc Natl Acad Sci U S A | volume = 106 | issue = 42| pages = 17986–17991 | doi = 10.1073/pnas.0903962106 | pmc = 2764922 | pmid = 19805197 }}</ref>
 
==การเชื่อมต่อ==
บรรทัด 143:
 
==ความหนาของเปลือกสมอง==
ใน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] สัตว์ที่มีสมองที่ใหญ่กว่า (โดยขนาด ไม่ใช่เพียงแค่ขนาดโดยเปรียบเทียบกับขนาดกาย) มักจะมีเปลือกสมองที่หนากว่า<ref name=CNSVert>{{cite book|title=The central nervous system of vertebrates, Volume 1 |publisher=Springer |year=1998 |isbn=978-3-540-56013-5 |pages=2011–2012 |authorvauthors=Nieuwenhuys R, Donkelaar HJ, Nicholson C}}</ref> แต่ช่วงความหนาจริง ๆ ก็ไม่ต่างกันมาก คือแค่ประมาณ 7 เท่าระหว่างคอร์เทกซ์ที่หนาที่สุดและที่บางที่สุด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เล็กที่สุด เป็นต้นว่า[[หนูผี]] มีความหนาของ[[คอร์เทกซ์ใหม่]]ประมาณ 0.5&nbsp;ม.ม. และสัตว์ที่ใหญ่ที่สุดคือมนุษย์และ[[วาฬฟิน|ปลาวาฬฟิน]] มีความหนาของ[[คอร์เทกซ์ใหม่]]ประมาณ 2.3—2.8&nbsp;ม.ม.
 
มีความสัมพันธ์เกือบเป็นเชิง[[ลอการิทึม]]ระหว่างน้ำหนักของสมองและความหนาของคอร์เทกซ์ แต่อย่างไรก็ตาม [[ปลาโลมา]]กลับมีคอร์เทกซ์ที่บางมาก เมื่อเทียบกับความหนาที่ความสัมพันธ์นั้นกำหนด<ref name=CNSVert/>
 
เพราะ[[การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก]] จึงเป็นไปได้ที่จะวัดความหนาของเปลือกสมองในมนุษย์ แล้วหาความสัมพันธ์ของความหนานั้นกับค่าอื่น ๆ ความหนาของเปลือกสมองในเขตต่าง ๆ ไม่เหมือนกัน แต่โดยทั่ว ๆ ไป[[sensory cortex|คอร์เทกซ์รับความรู้สึก]]จะบางกว่า และ[[motor cortex|คอร์เทกซ์สั่งการ]]จะหนากว่า<ref>{{Cite journal
| authorauthor1 = Frithjof Kruggel, |author2 = Martina K. Br?ckner,Brückner |author3 = Thomas Arendt, |author4 = Christopher J. Wiggins and|author5 = D. Yves von Cramon
| title = Analyzing the neocortical fine-structure
| journal = Medical Image Analysis
บรรทัด 159:
 
งานวิจัยหนึ่งพบความสัมพันธ์โดยบวกระหว่างความหนาของคอร์เทกซ์และความฉลาด<ref>คือคอร์เทกซ์ยิ่งหนามาก ก็ยิ่งฉลาดมาก</ref><ref>{{Cite journal
| authorauthor1 = Katherine L. Narr, |author2 = Roger P. Woods, |author3 = Paul M. Thompson, |author4 = Philip Szeszko, |author5 = Delbert Robinson, |author6 = Teodora Dimtcheva, |author7 = Mala Gurbani, |author8 = Arthur W. Toga and|author9 = Robert M. Bilder
| title = Relationships between IQ and Regional Cortical Grey Matter Thickness in Healthy Adults
| journal = [[Cerebral Cortex (journal)|Cerebral Cortex]]
บรรทัด 171:
 
ส่วนอีกงานหนึ่งพบว่า [[somatosensory cortex|คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย]]มีความหนามากกว่าในคนไข้โรค[[ไมเกรน]]<ref>{{Cite journal
| authorauthor1 = Alexandre F.M.FM DaSilva, |author2 = Cristina Granziera, |author3 = Josh Snyder and|author4 = Nouchine Hadjikhani
| title = Thickening in the somatosensory cortex of patients with migraine
| journal = [[Neurology (journal)|Neurology]]
บรรทัด 198:
 
==เชิงอรรถและอ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{Reflist|2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 209:
* [https://www.neuinfo.org/mynif/search.php?q=Cerebral%20Cortex&t=data&s=cover&b=0&r=20 NIF Search - Cerebral Cortex] via the Neuroscience Information Framework
 
[[หมวดหมู่:ประสาทกายวิภาคศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ซีรีบรัมคอร์เทกซ์| ]]
 
{{Authority control}}
[[หมวดหมู่:ประสาทกายวิภาคศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:เปลือกสมอง| ]]
{{โครงกายวิภาค}}