ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดอนัลด์ ทรัมป์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sanrakalone (คุย | ส่วนร่วม)
Sanrakalone (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 64:
ทรัมป์ประกาศอย่างชัดเจนต่อสาธารณธชนก่อนการเลือกตั้งว่า เขาจะเข้ามาปฏิรูปนโยบายด้านต่างๆที่ บารัค โอบามา ได้ทำไว้ และแสดงเจตนารมณ์ในการบริหารประเทศภายใต้คอนเซ็ปต์ "Make America Great Again" ซึ่งเป็นนโยบายที่ [[โรนัลด์ เรแกน]] อดีตประธานาธิบดีคนที่ 40 เคยใช้หาเสียง ตลอดระยะเวลา 4 ปีในการดำรงตำแหน่งของทรัมป์ เขาให้ความสำคัญกับนโยบายด้านเศรษฐกิจมาก โดยมีการปรับภาษีให้เท่าเทียมกัน และ มีการลดหย่อนภาษีลงอย่างทั่วถึง โดยรวมถึงการลดค่าใช่จ่ายในการเลี้ยงบุตรและค่ารักษาพยาลบาลทั่วไปอีกด้วย ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อลดจำนวนคนว่างงานลงให้มากที่สุด นอกจากนี้ทรัมป์ยังได้รับการยอมรับว่าเป็นประธานาธิบดีที่ให้ความใส่ใจกับยโยบายด้านการควบคุมผู้อพยพเข้าประเทศมากที่สุดท่านหนึ่ง เขาให้ความเข้มงวดเรื่องนี้มาก เนื่องจากต้องการผลักดันกฎหมายแรงงานให้ชาวอเมริกันสิทธิ์มากกว่าชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในสหรัฐ ซึ่งจุดนี้จะเป็นการรับประกันเรื่องความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน ของชาวอเมริกันได้ รวมถึงการประกันรายได้ การมีงานที่ดีรองรับ โดยคำถึงถึงสิทธิ์ของคนอเมริกันก่อนเป็นอันดับแรก และ เขาได้มีการเพิ่มมาตรการตรวจคนเข้าเมืองที่เข้มงวดมากเพื่อป้องกันการก่อการร้าย โดยมีเป้าหมายหลักคือการลดจำนวนผู้อพยพจากพรมแดนเม็กซิโกและแถบละตินอเมริกาลงให้มากที่สุด
 
เจตนารมณ์ที่ชัดเจนที่สุดของทรัมป์อีกประการหนึ่งตั้งแต่ช่วงรณรงค์หาเสียงคือการยกเลิกประกันสุขภาพ โอบามา แคร์ ของบารัก โอบามา เนื่องจากเขาเล็งเห็นว่ามันไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใดๆกับประชาชนในระดับกลางและระดับล่าง ทั้งยังเป็นการเพิ่มภาระในการเสียภาษีฟุ่มเฟือยที่มากขึ้นอีกด้วย เขาได้มีนโยบายในการเปลี่ยนไปใช้ระบบการซื้อประกันสุขภาพในราคาที่ถูกลงและยังครอบคลุมสิทธิการรักษาเมื่อเดินทางข้ามรัฐได้อีกด้วย ในส่วนของนโยบายด้านการศึกษา ทรัมป์ ได้เล็งเห็นว่าเด็กคืออนาคตของชาติและต้องการสร้างความมั่นใจแก่ชาวโลกว่าสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาที่ดีที่สุดในโลก เขามีการผลักดันการพัฒนาด้านการศึกษาทางสายอาชีพมากขึ้น เพื่อเป็นการสร้างภูมคุ้มกันภูมิคุ้มกันชีวิตให้เยาวชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและจบมามีงานที่ดีทำแบะสามมรถและสามารถพึ่งพาตนเองได้
 
ตลอดระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของทรัมป์ สหรัฐฯ ได้ตั้งคำถามต่อความสำคัญขององค์กรระหว่างประเทศ และ ดำเนินนโยบายการค้าและการทหารซึ่งสอดคล้องของกับสโลแกน America First ที่คำนึงถึงผลประโยชน์แห่งชาติของสหรัฐฯ​เป็นอันดับหนึ่งซึ่งในบางครั้งได้เพิ่มความตึงเครียดในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากขึ้น เขาได้ประกาศอย่างแข็งกร้าวในการกล้าที่จะเผชิญหน้ากับจีนและเกาหลีเหนือในฐานะประเทศคู่แข่งและผู้เป็นภัยคุกคามทางความมั่นคง ทรัมป์เน้นการใช้นโยบายแบบเอกาภาคีนิยม หรือ "Unilateralism" คือให้อเมริกาลุยเดี่ยว ‘Go It Alone’ ไม่จำเป้นจำเป็นต้องอิงกับพันธมิตรชาติใดเป็นพิเศษซึ่งตรงข้ามกับพรรคเดโมแครตของ โจ ไบเดน อย่างสิ้นเชิง (เดโมแครตเน้นการใช้เครื่องมือพหุภาคีระหว่างประเทศและใช้พันธมิตรเป็นเครื่องมือช่วยในการบริหารงานด้านการต่างประเทศ) ยิ่งไปกว่านั้น ในสมัยที่ บารัก โอบามา เป็นประธานาธิบดี และไบเดนเป็นรองประธานาธิบดี เขามีผลงานชิ้นโบว์แดงด้านการต่างประเทศ คือการจัดทำข้อตกลงอาวุธนิวเคลียร์กับอิหร่านในปี 2015 แต่ต่อมาภายหลังทรัมป์ได้ทำการฉีกข้อตกลงดังกล่าวทำให้เกิดวิกฤตอิหร่านขึ้นอีกครั้งในช่วงปลายของการดำรงตำแหน่งของเขา
 
เครดิต: ศ.ดร. ประภัสสร์ เทพชาตรี นายกสมาคมอเมริกาศึกษาในประเทศไทย (American Studies Association in Thailand - ASAT), องค์กรวีโอเอ ภาคภาษาไทย