ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 61:
=== การวางแผนและการเริ่มต้น ===
จุดเริ่มต้นของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนมาจากแนวคิดของนักวางแผนเมืองในปี 1967 ที่ได้พูดถึงความต้องการระบบขนส่งทางรางในเขตเมืองภายในปี 1992<ref>{{cite book|last1=Seah C. M.|title=Southeast Asian Affairs.|date=1981|publisher=Singapore: Institute of Southeast Asian Studies|page=293|url=http://eservice.nlb.gov.sg/item_holding_s.aspx?bid=4183690}}</ref><ref name=journey1>[[#sharp2005|Sharp 2005]], p. 66</ref><ref>{{cite report |citeseerx = 10.1.1.119.9246 |author=Fwa Tien Fang |title=Sustainable Urban Transportation Planning and Development&nbsp;— Issues and Challenges for Singapore |date=4 September 2004 |publisher=Department of Civil Engineering, [[National University of Singapore]]}}</ref> อย่างไรก็ตาม รัฐบาลกลับมีความคิดเห็นตรงกันข้าม โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ดร. [[Goh Keng Swee]] และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม ดร. [[Tony Tan Keng Yam|Tony Tan]] ได้พักโครงการเนื่องด้วยเหตุผลด้านงบประมาณและความกังวลเกี่ยวกับความอิ่มตัวของงานอุตสาหกรรม<ref>{{cite news |last1=Mai Yun |first1=Wong |title=Foolish to build MRT now: Tony Tan |url=https://eresources.nlb.gov.sg/newspapers/Digitised/Article/straitstimes19811217.2.94.5 |access-date=24 July 2020 |agency=The Straits Times |date=17 December 1981}}</ref> ดร. Goh อนุมัติระบบรถโดยสารประจำทางที่เสนอโดยผู้เชี่ยวชาญจาก[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]]ซึ่งเสนอว่ารถโดยสารประจำทางใช้งบประมาณเพียงร้อยละ 50 เมื่อกับระบบรถไฟฟ้า ความคิดเห็นได้แบ่งออกเป็นสองฝั่ง ฝั่งหนึ่งเห็นว่าควรมีการลงทุนสูงเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี ในขณะที่อีกฝั่งเห็นว่ารถโดยสารประจำทางจะมีประสิทธิภาพมากกว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสื่อสาร [[Ong Teng Cheong]] ได้สรุปว่าระบบรถโดยสารประจำทางนั้นไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน อีกทั้งยังต้องแย่งพื้นที่ถนนในประเทศด้วย อีกทั้ง Ong ยังเป็นสถาปนิกและนักวางแผนเมือง เขาได้ใช้ความพยายามและการอุทิศตนในการอยู่เบื้องหลังการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้านี้<ref name=ltahistory>{{cite web |url=http://www.lta.gov.sg/content/ltaweb/en/about-lta/our-history/1980s.html |title=1982 – The Year Work Began |publisher=Land Transport Authority |access-date=16 November 2013 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130929173053/http://www.lta.gov.sg/content/ltaweb/en/about-lta/our-history/1980s.html |archive-date=29 September 2013 |url-status=live }}</ref><ref name=ongcna>{{cite news |author1=Lee Siew Hoon |author2=Chandra Mohan |name-list-style=amp |url= http://www.channelnewsasia.com/cna/obituaries/ongtengcheong/special2.htm |archive-url= https://web.archive.org/web/20020223222029/http://www.channelnewsasia.com/cna/obituaries/ongtengcheong/special2.htm |archive-date= 23 February 2002 |title=In Memoriam&nbsp;— Ong Teng Cheong: A Profile |work=[[Channel NewsAsia]] |location =Singapore |access-date=26 November 2007}}</ref>
 
=== เริ่มก่อสร้าง ===
โครงสร้างพื้นฐานของรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนก่อสร้าง ดำเนินการและจัดการภายใต้กรอบงานที่เรียกว่านิวเรลไฟแนนซิงเฟรมเวิร์ก (NRFF) <!--hybridised quasi-[[nationalised]] regulatory framework--> และมี[[Land Transport Authority|องค์การขนส่งทางบก]] คณะกรรมการตามกฎหมายของ[[รัฐบาลสิงคโปร์]] เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างและเป็นเจ้าของที่ดิน<ref>{{Cite web|title=New Rail Financing Framework|url=https://www.lta.gov.sg/content/ltagov/en/who_we_are/our_work/public_transport_system/rail/new_rail_financing_framework.html|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20200114202059/https://www.lta.gov.sg/content/ltagov/en/who_we_are/our_work/public_transport_system/rail/new_rail_financing_framework.html|archive-date=14 January 2020|access-date=14 January 2020}}</ref>[[ไฟล์:Singapore_MRT_Network_(1987-1990).svg|right|thumb|การเปิดให้บริการในระยะต่าง ๆ (1987–1990)]]
โครงข่ายวางแผนที่จะก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นระยะ ๆ โดยให้ความสำคัญกับสองเส้นทางหลักที่เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของประเทศ [[รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ใต้|สายเหนือ-ใต้]]มีความสำคัญที่สุดเพราะเส้นทางผ่าน[[Central Area, Singapore|พื้นที่ใจกลางเมือง]]ซึ่งมีความต้องการระบบขนส่งสาธารณะสูง บริษัทรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (Mass Rapid Transit Corporation; MRTC) หรือภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นเอสเอ็มอาร์ทีคอร์ปอเรชัน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1983 และเข้ามาเป็นผู้รับผิดชอบแทนที่องค์การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน<ref name=ltahistory/><ref>{{cite book|title=Annual report 1984.|date=1084|publisher=Singapore: Mass Rapid Transit Corporation|page=5|url=http://eservice.nlb.gov.sg/item_holding_s.aspx?bid=4182060}}</ref> วันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987 เส้นทางช่วงแรกของสายเหนือ-ใต้ซึ่งมี 5 สถานีบนระยะทาง 6 กิโลเมตร ได้เปิดให้บริการ และภายในหนึ่งปี ได้เปิดสถานีใหม่เพิ่มอีก 20 สถานี และในปลายปี 1988 ได้เปิดให้บริการเส้นทางจาก[[Yishun MRT station|สถานี Yishun]] ไปยัง[[Lakeside MRT station|สถานีเล้กไซด์]] ซึ่งเชื่อมต่อระหว่าง[[Central Region, Singapore|ภาคกลาง]]กับ[[Jurong|จูรง]] เส้นทางที่ให้บริการถูกแบ่งออกเป็นสายเหนือ-ใต้และสายตะวันออก-ตะวันตก หลังจากที่เปิดให้บริการสถานีฝั่งตะวันออก (ปลายทาง[[Tanah Merah MRT station|สถานี Tanah Merah]]) ของสายตะวันออก-ตะวันตก<ref>{{Cite news|date=4 August 1989|title=MRT eastern line to start operating on Nov 18|work=The Business Times|url=https://eresources.nlb.gov.sg/newspapers/Digitised/Article/biztimes19890804-1.2.12.12}}</ref><ref>{{Cite news|url=https://eresources.nlb.gov.sg/newspapers/Digitised/Article/straitstimes19891104-1.2.6.1.1|title=On right track|date=4 November 1989|work=The Straits Times}}</ref><ref name=":Tanah merah">{{Cite news|url=https://eresources.nlb.gov.sg/newspapers/Digitised/Article/straitstimes19891105-1.2.2|title=MRT Trains to Pasir Ris from Dec 16|last=Dhaliwal|first=Rav|date=5 November 1986|work=The Straits Times}}</ref> และในปลายปี 1990 ได้เปิดใช้งานสายแยกซึ่งเชื่อมไปยัง [[Choa Chu Kang]] และการเปิดให้บริการ[[Boon Lay MRT station|สถานี Boon Lay]] เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 ทำให้การเปิดใช้งานในระยะแรกเสร็จสมบูรณ์ก่อนกำหนดถึงสองปี<ref name=mrtstory2>[[#mrt1988|Mass Rapid Transit Corporation, Singapore 1988]], p. 10.</ref><ref name=journey2>[[#sharp2005|Sharp 2005]], p. 109.</ref>
 
== โครงข่าย ==