ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาญัฮกุร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
'''ภาษาญัฮกุร''' เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร กลุ่มย่อยมอญ ถือว่าใกล้เคียงกับ[[ภาษามอญ]]โบราณในสมัยทวารวดี มีผู้พูดคือชาว[[ญัฮกุร]]ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] [[เพชรบูรณ์]] และ[[ชัยภูมิ]] บางส่วนเริ่มเปลี่ยนมาพูด[[ภาษาไทย]]
 
ภาษาญัฮกุรเดิมเป็นเพียงภาษาพูดไม่มีตัวเขียน ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2548 ได้มีการสร้างระบบตัวเขียนขึ้นใหม่โดยใช้[[อักษรไทย]] (และเพิ่มสัทอักษรสากล [[ʔ]]) และรวบรวมคำศัพท์เอาไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อไม่ให้สูญหาย มีพยัญชนะ 26 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 15 เสียง มีสระ 21 เสียง เป็นสระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ ใช้ระบบน้ำเสียงแทน มีระบบการเติมหน่วยคำแต่ปัจจุบันเหลือใช้ไม่มากนัก เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม
 
== สัทวิทยา ==