ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไปรษณีย์ไทย (บริษัท)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
{{ดูเพิ่มที่|การไปรษณีย์ในประเทศไทย}}
=== ยุคเริ่มก่อตั้ง ===
ระบบไปรษณีย์ของประเทศไทย เกิดขึ้นในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบกิจการไปรษณีย์ในสมัยแรกคือ '''[[กรมไปรษณีย์]]''' เปิดให้บริการเป็นครั้งแรก ณ วันที่ [[4 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2426]] มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่[[ไปรษณียาคาร]] ตั้งอยู่ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ใกล้ปาก[[คลองโอ่งอ่าง]] ปัจจุบันรื้อทิ้งเพื่อสร้าง[[สะพานพระปกเกล้า]]
 
ในระยะแรกที่ให้บริการ ครอบคลุมเฉพาะกรุงเทพเท่านั้น เมื่อ [[27 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2428]] จึงเริ่มขยายไปต่างจังหวัดโดยเปิดที่ทำการไปรษณีย์ที่[[จังหวัดสมุทรปราการ|สมุทรปราการ]]และ[[นครเขื่อนขันธ์]] ([[อำเภอพระประแดง|พระประแดง]] ในปัจจุบัน) และขยายต่อจนถึง[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]]ในเดือนตุลาคมของปีเดียวกัน ส่วนบริการไปรษณีย์ระหว่างประเทศ เริ่มเมื่อ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2428]] หลังประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิก[[สหภาพสากลไปรษณีย์]]
 
ในปี พ.ศ. 2441 กรมไปรษณีย์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''[[กรมไปรษณีย์โทรเลข]]''' หลังจากมีการควบรวมเอา กรมไปรษณีย์ และ เข้ากับ'''กรมโทรเลข''' ซึ่งดูแลงานด้าน[[โทรเลข]] เข้าด้วยกัน เมื่อ พ.ศ. 2483 ได้มีการเปิด '''[[อาคารไปรษณีย์กลาง|ที่ทำการไปรษณีย์กลาง]]''' ขึ้นบน[[ถนนเจริญกรุง]] [[เขตบางรัก]] และใช้เป็นที่ทำการของ[[กรมไปรษณีย์โทรเลข]]
<!--ย้ายไปถนนแจ้งวัฒนะเมื่อ... -->
 
=== ยุครัฐวิสาหกิจ ===
เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนสถานะจากหน่วยแยกงานราชการบางส่วนออกจากกรมไปรษณีย์โทรเลข และจัดตั้งมาเป็น[[รัฐวิสาหกิจ]] ใช้ชื่อว่า '''[[การสื่อสารแห่งประเทศไทย]]''' (ก.ส.ท.)<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/115/369.PDF พระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519]</ref>
 
และเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2546<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00126679.PDF พระราชกฤษฎีกากำหนดเงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายว่าด้วยการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546]</ref> มีการปรับโครงสร้างอีกครั้งตามนโยบาย[[การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ|แปรรูปรัฐวิสาหกิจ]] โดยแยก[[การสื่อสารแห่งประเทศไทย]] ออกเป็น '''บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด''' (ปณท.) และ'''[[บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)]] ''' ซึ่งปัจจุบัน บริษัทโดยไปรษณีย์ไทย จำกัด เป็นผู้ดูแล บริการด้านไปรษณีย์ทั้งหมด มีสำนักงานใหญ่ที่รวมถึงรับจ้างให้บริการ[[ถนนแจ้งวัฒนะโทรเลข]]จาก กสท.โทรคมนาคม ซึ่งให้บริการจนถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2551<ref>[http://www.neutron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&task=view&id=818 ปิดตำนานบริการโทรเลข]</ref>
 
== สินค้าและบริการ ของ บริษัทไปรษณีย์ไทย ==
บรรทัด 51:
== ที่ทำการไปรษณีย์ ==
[[ไฟล์:VTBS-Post office.JPG|150px|thumb|ปณฝ.[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ]]
[[ที่ทำการไปรษณีย์]]เคยมีการให้บริการด้าน[[โทรเลข]]ด้วย ดังนั้นในอดีตจึงใช้คำว่า '''ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข''' แทน แต่หลังจากที่งานด้านโทรเลขแยกไปอยู่กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) จึงเปลี่ยนมาใช้ชื่อว่า '''ที่ทำการไปรษณีย์''' ที่ทำการไปรษณีย์มีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับหน้าที่และบริการของแต่ละแห่ง ตัวอย่างเช่น
* '''ศูนย์ไปรษณีย์ (ศป., mail centre)''' มีหน้าที่หลักคือ รวบรวมจดหมาย และพัสดุจากที่ทำการไปรษณีย์ต่าง&nbsp;ๆ มาคัดแยก และ'''ส่งต่อ''' หมายถึงส่งไปที่ทำการปลายทาง หรือส่งต่อไปภูมิภาคอื่น&nbsp;ๆ ทางรถยนต์ รถไฟ หรือ เครื่องบิน ตัวอย่างเช่น ''ศูนย์ไปรษณีย์กรุงเทพ'' ตั้งอยู่ใกล้สถานีรถไฟ[[หัวลำโพง]] เป็นต้น
* '''ศูนย์รับฝากไปรษณีย์จำนวนมาก (ศฝ., bulk mail centre)''' คือไปรษณีย์ที่เน้นรับจดหมายจากหน่วยงานต่าง&nbsp;ๆ ที่มีไปรษณีย์ภัณฑ์จำนวนมากแล้วส่งต่อไปยังศูนย์ไปรษณีย์
บรรทัด 64:
สำหรับบริษัทเอกชนที่ให้บริการรับฝากไปรษณีย์แต่ไม่เป็นสถานะที่ทำการไปรษณีย์อนุญาต จะเรียกว่า '''ผู้รวบรวมไปรษณีย์''' ซึ่งต้องมีการจดทะเบียนอย่างถูกต้องกับ ปณท.
 
ในอดีตสมัยที่เป็น กรมไปรษณีย์โทรเลข และ การสื่อสารแห่งประเทศไทย ชื่อประเภทของที่ทำการไปรษณีย์ข้างบนใช้ชื่อว่า ''ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข'' แทน ''ที่ทำการไปรษณีย์'' เช่น ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขรับจ่าย (ปทจ.) ยกเว้นที่ทำการไปรษณีย์รถยนต์ ในอดีตเรียก ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขเคลื่อนที่ (ปทค.) ส่วนที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขชั่วคราวใช้ชื่อย่อเป็น ปทช.
 
== ศูนย์ไปรษณีย์ไทย==
นอกจากบริษัทไปรษณีย์ไทยแล้ว ทางบริษัทได้จัดตั้งศูนย์กระจายไปรษณีย์ 19 แห่งดังนี้
 
=== กรุงเทพมหานคร-ปริมณฑล ศูนย์หลักสี่ ศูนย์กรุงเทพ ศูนย์ด่วนพิเศษ ศูนย์สุวรรณภูมิ ===
* กรุงเทพมหานคร - ปริมณฑล :
=== ภาคกลาง-ภาคตะวันออก ศูนย์ศรีราชา ศูนย์ราชบุรี ศูนย์อยุธยา ศูนย์กบินทร์บุรี ===
** ศูนย์หลักสี่
=== ภาคเหนือ ศูนย์เด่นชัย ศูนย์ลำพูน ศูนย์พิษณุโลก ศูนย์นครสวรรค์ ===
** ศูนย์กรุงเทพ
=== ภาคอีสาน ศูนย์อุดรธานี ศูนย์ขอนแก่น ศูนย์นครราชสีมา ศูนย์อุบลราชธานี ===
** ศูนย์ด่วนพิเศษ
=== ภาคใต้ ศูนย์หาดใหญ่ ศูนย์ทุ่งสง ศูนย์ชุมพร ===
** ศูนย์สุวรรณภูมิ
* ภาคกลาง - ภาคตะวันออก :
** ศูนย์ศรีราชา
** ศูนย์ราชบุรี
** ศูนย์อยุธยา
** ศูนย์กบินทร์บุรี
 
* ภาคเหนือ :
** ศูนย์เด่นชัย
** ศูนย์ลำพูน
** ศูนย์พิษณุโลก
** ศูนย์นครสวรรค์
* ภาคอีสาน :
** ศูนย์อุดรธานี
** ศูนย์ขอนแก่น
** ศูนย์นครราชสีมา
** ศูนย์อุบลราชธานี
* ภาคใต้ :
** ศูนย์หาดใหญ่
** ศูนย์ทุ่งสง
** ศูนย์ชุมพร
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ไปรษณีย์]]