ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามไซเบอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Amherst99 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สงครามไซเบอร์''' ({{lang-en|Cyberwarfarecyberwarfare}}) เป็นคำที่นิยามขึ้นมาโดย ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบความปลอดภัยของรัฐบาลที่ชื่อ [[ริชาร์ด เอ. คลาร์ก]] ในหนังสือที่ชื่อ ''Cyber War'' (พฤษภาคม 2010) โดยนิยามว่า "เป็นการกระทำของรัฐ-ชาติ เพื่อแทรกซึมไปยังระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย มีจุดประสงค์เพื่อทำลายหรือสร้างความแตกแยก"<ref name=Clarke>Clarke, Richard A. ''Cyber War'', HarperCollins (2010)</ref> ''Economist'' อธิบายไว้ว่า "การกำเนิดสงครามอย่างที่ 5"<ref name=Economist>[http://www.economist.com/node/16481504?story_id=16481504&source=features_box1 "Cyberwar: War in the Fifth Domain"] ''Economist'', July 1, 2010</ref> และ[[วิลเลียม เจ. ลิน]] รองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา กล่าวว่า "โดยหลักการแล้ว [[เพนตากอน]]ได้ยอมรับอย่างเป็นทางการแล้วว่า เป็นเหตุให้เกิด[[สงคราม]] ที่กลายเป็นเรื่องอันตรายต่อการปฏิบัติการทหาร ทั้งภาคพื้นดิน อากาศ ทะเล และทางอากาศ"<ref name=Lynn>Lynn, William J. III. [http://www.foreignaffairs.com/articles/66552/william-j-lynn-iii/defending-a-new-domain "Defending a New Domain: The Pentagon's Cyberstrategy"], ''Foreign Affairs'', Sept/Oct. 2010, pp. 97-108</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2009 ประธานาธิบดี [[บารัก โอบามา]] ประกาศว่า ระบบพื้นฐานดิจิตอลของสหรัฐอเมริกา "เป็นสินทรัพย์ยุทธศาสตร์ของชาติ" และในเดือนพฤษภาคม 2010 เพนตากอน ได้จัดตั้งกองบัญชาการไซเบอร์ (Cyber Command) นำโดยนายพล คีท บี. อเล็กซานเดอร์ ผู้บริหารของ[[สภาความมั่งคงแห่งชาติสหรัฐอเมริกาิ]]เพื่อป้องกันเครือข่ายทหารอเมริกัน และจู่โจมระบบของประเทศอื่น สหราชอาณาจักรก็ได้ก่อตั้งการรักษาความปลอดภัยในไซเบอร์ และศูนย์ปฏิบัติการ ตั้งอยู่ใน[[สำนักงานใหญ่คมนาคมของรัฐบาลอังกฤษ]]