ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มอาการสต็อกโฮล์ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[File:Former Kreditbanken Norrmalmstorg Stockholm Sweden.jpg|thumb|right|250px|อดีตอาคารที่ตั้งเดิมทำการของอาคาร ธนาคาร[[Kreditbanken|เครดิทบังเคน]] ในจัตุรัส[[นอร์มัล์มสตอร์ย]] [[สต็อกโฮล์ม]] ประเทศสวีเดน ที่เกิดเหตุการปล้นเมื่อ ค.ศ. 1973 (ภาพถ่ายปี ค.ศ. 2005)]]
'''กลุ่มอาการสต็อกโฮล์ม''' ({{lang-en|Stockholm syndrome}}) เป็นคำอธิบายถึงอาการอย่างหนึ่งที่ตัวประกันเกิดความสัมพันธ์ทางใจกับผู้ลักพาตัวในระหว่างการถูกกักขัง<ref>{{Cite journal|last=Jameson|first=Celia | name-list-format = vanc |year=2010|title=The Short Step From Love to Hypnosis: A Reconsideration of the Stockholm Syndrome|url=|journal=Journal for Cultural Research|volume=14|issue=4 |pages=337–355|doi=10.1080/14797581003765309}}</ref> ความสัมพันธ์ทางอารมณ์นี้เกิดขึ้นระหว่างผู้จับกับเชลยในช่วงเวลาที่ได้ใกล้ชิดกัน แต่นี่อาจถือได้ว่าไม่มีสัญญาณด้านอันตรายหรือเกิดความเสี่ยงอันตรายต่อเหยื่อ กลุ่มอาการสต็อกโฮล์มไม่อยู่ใน[[คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต]] ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิต เนื่องจากขาดการวิจัยเชิงวิชาการ<ref name="Adorjan_2012" /><ref name=":0">{{Cite web|title=What Is Stockholm Syndrome? Is It Real?|url=https://blog.prepscholar.com/what-is-stockholm-syndrome-examples-symptoms|last=Robinson|first=Ashley|date=28 February 2019|website=PrepScholar|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=}}</ref><!--Generally speaking, Stockholm syndrome consists of "strong emotional ties that develop between two persons where one person intermittently harasses, beats, threatens, abuses, or intimidates the other."<ref name = "McKenzie_2004">{{cite journal | last = McKenzie | first = Ian K. | name-list-format = vanc | title = The Stockholm Syndrome Revisited | journal = Journal of Police Crisis Negotiations | date = 23 February 2004 | volume = 4 | issue = 1 | pages = 5–21 | doi = 10.1300/J173v04n01_02 }}</ref>--> กลุ่มอาการนี่พบเห็นได้ยาก จากข้อมูลของระบบฐานข้อมูลการจับตัวประกัน ของ[[สำนักงานสอบสวนกลาง]] และ ''[[FBI Law Enforcement Bulletin|Law Enforcement Bulletin]]'' ประเมินว่าพบการลักพาตัวประเภทนี้น้อยกว่า 5%<ref name="FBI-1999">{{cite journal|last=Fuselier|first=G. Dwayne|date=July 1999|title=Placing the Stockholm Syndrome in Perspective|url=https://books.google.com/books?id=OPTvgIUIEyAC|journal=[[FBI Law Enforcement Bulletin]]|volume=68|issue=|pages=22|issn=0014-5688|via=Google Books|name-list-format=vanc}}</ref>
 
คำนี้มีการใช้ครั้งแรกโดยสื่อมวลชนในปี ค.ศ. 1973 เมื่อมีการจับตัวประกัน 4 คนระหว่าง[[Norrmalmstorg robbery|การเหตุปล้นธนาคาร]][[Kreditbanken|เครดิทบังเคน]] ที่ย่าน[[นอร์มัล์มสตอร์ย]]ของเมือง[[สต็อกโฮล์ม]] [[ประเทศสวีเดน]] ตัวประกันได้ปกป้องผู้จับตัวพวกเขาหลังถูกปล่อยตัวและยังไม่ยอมเป็นพยานต่อศาลด้วย<ref name="Adorjan_2012">{{cite journal|last1=Adorjan|first1=Michael|last2=Christensen|first2=Tony|last3=Kelly|first3=Benjamin|last4=Pawluch|first4=Dorothy|year=2012|title=Stockholm Syndrome As Vernacular Resource|journal=The Sociological Quarterly|volume=53|issue=3|pages=454–74|doi=10.1111/j.1533-8525.2012.01241.x|jstor=41679728|issn=0038-0253}}</ref>
 
สี่องค์ประกอบสำคัญที่แสดงคุณลักษณะของกลุ่มอาการสต็อกโฮล์ม คือ
บรรทัด 15:
[[หมวดหมู่:การจับตัวประกัน]]
[[หมวดหมู่:มนุษยสัมพันธ์]]
[[หมวดหมู่:สต็อกโฮล์ม]]