ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Timekeepertmk/กระบะทราย4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{กระบะทรายผู้ใช้}}"
ป้ายระบุ: ถูกแทน
บรรทัด 1:
{{กระบะทรายผู้ใช้}}
[[File:Katsudō Shashin.jpg|thumb|upright=1.5|''คัตสึโดชาชิง'' ความยาว 3 วินาที โดยไม่ทราบผู้สร้างและวันที่สร้าง]]
'''''คัตสึโดชาชิง''''' ({{nihongo|活動写真|Katsudō Shashin||"ภาพเคลื่อนไหว"}}) <onlyinclude> บางครั้งถูกเรียกว่า '''ชิ้นส่วนมัตสึโมโตะ''' เป็น[[ฟิล์มสตริป]]การ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผลงาน[[อนิเมะ]]ญี่ปุ่นที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่มีข้อมูล ชื่อผู้สร้างผลงานชิ้นนี้ไม่ปรากฎ หลักฐานบ่งชี้ว่าสร้างขึ้นก่อน ค.ศ. 1912 ดังนั้นฟิล์มสตริปชิ้นนี้อาจมีมาก่อนการจัดแสดงภาพยนตร์เคลื่อนไหวของตะวันตกในญี่ปุ่น โดยมีการค้นพบฟิลม์สตริปชิ้นนี้ในชุดสะสมภาพยนตร์และเครื่องฉายใน[[เกียวโต]]เมื่อ ค.ศ. 2005
 
ฟิล์มสตริปความยาวสามวินาทีแสดงให้เห็นเด็กผู้ชายเขียนคำว่า "{{lang|ja|活動写真}}" จากนั้นถอดหมวกแล้วโค้งคำนับ โดยใช้อุปกรณ์สำหรับทำสไลด์[[โคมไฟวิเศษ]]ในการพิมพ์ฉลุสีแดงและสีดำลงในเฟรม และยึดฟิล์มสตริปให้เป็นวงเพื่อให้สามารถเล่นได้ต่อเนื่อง.</onlyinclude>
 
==ลักษณะ==
 
[[File:Katsudō Shashin (1907).webm|thumb|''คัตสึโดชาชิง'']]
 
''คัตสึโดชาชิง'' ประกอบด้วยชุดของภาพการ์ตูนบนแถบเซลลูลอยด์ห้าสิบเฟรม มีความยาวสามวินาทีที่สิบหก[[อัตราเฟรม|เฟรมต่อวินาที]]{{sfn|Anime News Network staff|2005}} ฟิล์มสตริปแสดงเด็กชายใน[[ชุดกะลาสี]]เขียนตัวอักษร[[คันจิ]] "{{lang|ja|活動写真}}" (''katsudō shashin'', "ภาพเคลื่อนไหว") จากขวาไปซ้าย จากนั้นหมุนตัวกลับมาทางผู้ชม ถอดหมวก แล้วคำนับ{{sfn|Anime News Network staff|2005}} ''คัตสึโดชาชิง'' เป็นชื่อชั่วคราว เนื่องจากไม่ทราบชื่อที่แท้จริง{{sfn|Litten|2014|p=13}}
 
ความต่างของงานชิ้นนี้กับ[[แอนิเมชันดั้งเดิม]]คือเฟรมไม่ได้ถูกผลิตด้วยวิธีการบันทึกภาพ แต่ใช้การพิมพ์ฉลุลงไปในฟิล์ม{{sfn|Matsumoto|2011|p=98}} โดยใช้ ''คัปปะ-บัง'' {{efn|{{lang|ja|合羽版}} ''{{lang|tr|kappa-ban}}''; การบวนการพิมพ์เรียกว่า ''คัปปะ-ซูริ'' ({{lang|ja|合羽刷り}}) }} ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับพิมพ์ฉลุสไลด์[[โคมไฟวิเศษ]] ภาพเป็นสีแดงและสีดำบนแถบภาพยนตร์ขนาด 35 มม. {{efn|ฟิล์มสตริปหดตัวลงมาเหลือเพียง 33.5 มม.{{sfn|Litten|2014|p=13}} }}{{sfn|Matsumoto|2011|p=116}} โดยส่วนท้ายถูกยึดติดกันเพื่อการเล่นที่ต่อเนื่อง{{sfn|Asahi Shimbun staff|2005}}
 
==ภูมิหลัง==
 
ภาพยนตร์แอนิเมชันภาพพิมพ์ในยุคเริ่มแรกสำหรับเป็นของเล่นทางสายตา เช่น [[โซโทรป]] มีมาก่อนแอนิเมชันที่ใช้เครื่องฉาย [[เกอบรือเดอร์บิง]]ซึ่งเป็นผู้ผลิตของเล่นเยอรมันนำเสนอเครื่องฉายที่เทศกาลของเล่นใน[[เนือร์นแบร์ค]] เมื่อ ค.ศ. 1998 ต่อมาผู้ผลิตของเล่นรายอื่นได้ขายเครื่องมือที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน{{sfn|Litten|2014|p=9}} ภาพยนตร์ที่ใช้นักแสดงจริงสำหรับเครื่องมือเหล่านี้มีราคาแพงที่จะสร้าง; อาจเป็นไปได้ว่าช่วง ค.ศ. 1898 ภาพยนตร์แอนิเมชันสำหรับเครื่องมือเหล่านี้มีวางขาย และสามารถยึดเป็นวงเพื่อการรับชมอย่างต่อเนื่อง{{sfn|Litten|2014|p=15}}
 
[[File:Anime cell 1917.jpg|thumb|alt=Film frame of a cartoon samurai holding a sword|Japanese animated films such as [[Jun'ichi Kōuchi]]'s ''[[Namakura Gatana|Hanawa Hekonai meitō no maki]]'' began appearing in theatres in 1917.]]
 
เทคโนโลยีการฉายภาพยนตร์เข้ามาในญี่ปุ่นจากตะวันตกในช่วง ค.ศ. 1896–97{{sfn|Matsumoto|2011|p=112}} การฉายแอนิเมชันต่างชาติครั้งแรก ๆ ในโรงภาพยนตร์ญี่ปุ่นที่สามารถระบุวันที่ได้แน่นอนได้แก่เรื่อง ''Les Exploits de Feu Follet'' {{efn|{{lang-en|The Nipper's Transformations|links=no}}; {{lang-ja|ニッパルの変形|links=no}} ''Nipparu no Henkei'' }} (ค.ศ. 1991) ของ[[เอมีล โกล]] นักวาดภาพแอนิเมชันฝรั่งเศส ซึ่งฉายรอบปฐมทัศน์ในโตเกียวเมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912 สำหรับภาพยนตร์แอนิเมชันญี่ปุ่นเรื่องแรกที่ได้ฉายในโรงภาพยนตร์เป็นผลงานของ[[โอเต็น ชิโมกาวะ]], [[เซอิตาโร คิตายามะ]]และ[[จุงอิจิ โคอูจิ]]ใน ค.ศ. 1917{{sfn|Litten|2013|p=27}} แม้ฟิล์มจะสูญหาย แต่มีการค้นพบบางส่วนในฉบับ "ภาพยนตร์ของเล่น"{{efn|{{lang|ja|玩具}} ''{{transl|ja|กังกุ}}'' }} สำหรับการรับชมที่บ้านด้วยเครื่องฉายมือหมุน ภาพยนต์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงอยู่ได้แก่ ''ฮานาวะ เฮโกไน เมโต โนะ มากิ'' {{efn|{{lang|ja|塙凹内名刀之巻}} ''{{transl|ja|Hanawa Hekonai meitō no maki}}'', "ม้วนภาพยนต์ดาบที่มีชื่อเสียงของฮานาวะ เฮโกไน"}} (1917) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อว่า ''[[นามากูระกาตานะ]]{{sfn|Matsumoto|2011|pp=96–97}}
 
==การค้นพบอีกครั้ง==
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2004 ผู้ประกอบการค้ามือสองในเกียวโตติดต่อ Natsuki Matsumoto{{efn|{{lang|ja|松本 夏樹}} ''{{transl|ja|Matsumoto Natsuki}}'', b.&nbsp;1952}}{{sfn|Matsumoto|2011|p=98}} ผู้เชี่ยวชาญด้าน[[ประติมานวิทยา]]จาก[[มหาวิทยาลัยศิลปะโอซากา]]{{sfn|Clements|McCarthy|2006|p=169}} ผู้ประกอบการค้าได้รับชุดสะสมฟิล์มและเครื่องฉายจากครอบครัวเก่าแก่ในเกียวโต และ Matsumoto มาถึงในเดือนถัดไปเพื่อรับของสะสมเหล่านี้ไป{{sfn|Matsumoto|2011|p=98}} ชุดสะสมเหล่านี้ประกอบด้วยเครื่องฉาย 3 เครื่อง, ฟิล์ม 35 มม. 11 ชิ้นและสไลด์โคมไฟวิเศษ 11 ชิ้น{{sfn|Matsumoto|2011|p=98}}
 
เมื่อ Matsumoto ค้นพบ ''คัตสึโดชาชิง'' ในชุดสะสม{{sfn|Clements|McCarthy|2006|p=169}} ฟิล์มสตริปอยู่ในสภาพที่ย่ำแย่{{sfn|López|2012|p=584}} ในชุดสะสมมีฟิล์มสตริปแอนิเมชันแบบตะวันตกสามชิ้น ซึ่ง ''คัตสึโดชาชิง'' อาจผลิตขึ้นโดยการเลียนแบบจากตัวอย่างของแอนิเมชันเยอรมันหรือประเทศตะวันตกอื่น{{sfn|Litten|2014|p=12}}<!-- The strip was made for a [[cinematograph]] made by {{illm|Georges Carette|de}} in [[Nuremberg]],{{sfn|Litten|2014|pp=11–13}} --> หากพิจารณาจากหลักฐาน เช่น วันที่ผลิตที่เป็นไปได้ของเครื่องฉายในชุดสะสม Matsumoto และนักประวัติศาสตร์แอนิเมชันอย่าง Nobuyuki Tsugata{{efn|{{lang|ja|津堅 信之}} ''{{transl|ja|Tsugata Nobuyuki}}'', b.&nbsp;1968}} กำหนดว่าภาพยนตร์นี้น่าจะสร้างขึ้นในช่วงปลาย[[ยุคเมจิ]] ซึ่งสิ้นสุดใน ค.ศ. 1912{{efn|The [[Meiji period]] lasted from 1868 to 1912.}}{{sfnm|1a1=Matsumoto|1a2=Tsugata|1y=2006|1p=101|2a1=Matsumoto|2y=2011|2p=115}} นักประวัติศาสตร์อย่าง Frederick S. Litten เสนอแนะว่าน่าจะถูกสร้างในประมาณ ค.ศ. 1907{{sfn|Litten|2014|p=13}} และ "ปีที่สร้างไม่น่าก่อน ค.ศ. 1905 และไม่น่าหลัง ค.ศ. 1912{{sfn|Litten|2014|p=15}} ด้วยในช่วงเวลานั้นโรงภาพยนตร์หาได้ยากในประเทศญี่ปุ่น{{sfn|Asahi Shimbun staff|2005}} หลักฐานจึงชี้ได้ว่า ''คัตสึโดชาชิง'' ถูกผลิตมาจำนวนมากเพื่อขายให้กับคนร่ำรวยที่เป็นเจ้าของเครื่องฉายใช้ในบ้าน{{sfn|Matsumoto|2011|pp=116–117}} ผู้สร้างฟิล์มสตริปนี้ยังคงไม่มีข้อมูล{{sfn|Clements|McCarthy|2006|p=169}} ซึ่ง Matsumoto ชี้ว่าน่าจะมีที่มาจากบริษัทขนาดเล็กจากคุณภาพที่ย่ำแย่และเทคนิคการพิมพ์ระดับต่ำ{{sfn|Litten|2014|p=15}}
 
การค้นพบครั้งนี้ได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในสื่อญี่ปุ่น{{sfn|Matsumoto|2011|p=98}} ด้วยการคาดการณ์วันที่สร้าง อาจทำให้ภาพยนตร์ชิ้นนี้ร่วมสมัยหรืออาจมาก่อนงานแอนิเมชันของโกลและนักแอนิเมชันชาวอเมริกันอย่าง [[J.&nbsp;Stuart Blackton]] และ [[Winsor McCay]] หนังสือพิมพ์ ''[[อาซาฮีชิมบุง]]'' ยอมรับในความสำคัญของการค้นพบแอนิเมชันสมัยเมจิ แต่ยังคงสงวนการแสดงออกที่จะจัดให้ภาพยนตร์อยู่ในกลุ่มแอนิเมชันญี่ปุ่น โดยเขียนไว้ว่า "มีข้อถกเถียงที่ฟิล์มที่ค้นพบใหม่นั้นควรจะถูกเรียกว่าแอนิเมชันในความเข้าใจร่วมสมัย"{{sfn|López|2012|p=584}}
 
==ดูเพิ่ม==
 
{{Div col|colwidth=40em}}
 
* [[Cinema of Japan]]
* [[History of animation]]
* [[History of anime]]
* [[List of rediscovered films]]
* [[List of anime by release date (pre-1939)]]
 
{{div col end}}
 
{{Portal bar|การ์ตูนญี่ปุ่น|ภาพยนตร์|ประเทศญี่ปุ่น}}
 
==เชิงอรรถ==
 
{{Notelist|colwidth=40em}}
 
==อ้างอิง==
 
{{Reflist|colwidth=20em}}
 
===งานอ้างอิง===
 
{{Refbegin|colwidth=40em}}
 
* {{cite web
|title = Oldest Anime Found
|work = [[Anime News Network]]
|author = Anime News Network staff
|date = 7 August 2005
|url = http://www.animenewsnetwork.com/news/2005-08-07/oldest-anime-found
|access-date = 12 February 2014
|archive-url = https://web.archive.org/web/20070202072042/http://www.animenewsnetwork.com/news/2005-08-07/oldest-anime-found
|archive-date = 2 February 2007
}}
* {{cite web
|author = Asahi Shimbun staff
|script-title = ja:日本最古?明治時代のアニメフィルム、京都で発見
|title = Nihon saiko? Meiji jidai no anime firumu, Kyōto de hakken
|trans-title = Oldest in Japan? Meiji-period animated film discovered in Kyoto
|language = ja
|url = http://j.peopledaily.com.cn/2005/08/01/jp20050801_52250.html
|work = [[People's Daily|China People's Daily Online]] (Japanese Edition)
|date = 1 August 2005
|access-date = 11 June 2014
|archive-url = https://web.archive.org/web/20071011110120/http://j.peopledaily.com.cn/2005/08/01/jp20050801_52250.html
|archive-date = 11 October 2007
}}
* {{cite book
|last1 = Clements
|first1 = Jonathan
|author-link1 = Jonathan Clements
|last2 = McCarthy
|first2 = Helen
|author-link2 = Helen McCarthy
|title = The Anime Encyclopedia: A Guide to Japanese Animation Since 1917
|year = 2006
|publisher = [[Stone Bridge Press]]
|isbn = 978-1-84576-500-2
}}
* {{cite journal
|last = Litten
|first = Frederick S.
|script-title = ja:招待研究ノート:日本の映画館で上映された最初の(海外)アニメーション映画について
|title = Shōtai kenkyū nōto: Nihon no eigakan de jōei sareta saisho no (kaigai) animēshon eiga ni tsuite
|language = ja
|trans-title=On the Earliest (Foreign) Animation Shown in Japanese Cinemas
|journal = The Japanese Journal of Animation Studies
|volume = 15
|issue = 1A
|date = 2013
|pages = 27–32
}}
* {{cite web
|last = Litten
|first = Frederick S.
|title = Japanese color animation from ca.&nbsp;1907 to 1945
|url = http://litten.de/fulltext/color.pdf
|website = litten.de
|date = 17 June 2014
|access-date = 18 June 2014
|format = PDF
|archive-url = https://web.archive.org/web/20140714184537/http://litten.de/fulltext/color.pdf
|archive-date = 14 July 2014
}}
* {{cite conference
|last1 = López
|first1 = Antonio
|title = A New Perspective on the First Japanese Animation
|year = 2012
|publisher = IPCA
|book-title = Published proceedings‚ Confia‚ (International Conference on Illustration and Animation)‚ 29–30 Nov 2012
|pages = 579–586
|isbn = 978-989-97567-6-2
}}
* {{cite journal
|last1 = Matsumoto
|first1 = Natsuki
|last2 = Tsugata
|first2 = Nobuyuki
|title = Kokusan saikō to kangaerareru animēshon firumu no hakken ni tsuite
|trans-title = The discovery of supposedly oldest Japanese animation films<!-- official translation of title at Matsumoto's website -->
|script-title = ja:国産最古と考えられるアニメーションフィルムの発見について
|language = ja
|journal = Eizōgaku
|issue = 76
|pages = 86–105
|year = 2006
|issn = 0286-0279
}}
* {{cite book
|last = Matsumoto
|first = Natsuki
|chapter = 映画渡来前後の家庭用映像機器
|trans-chapter = Home movie equipment from the earliest days of film in Japan<!-- not literal, I know -->
|language = ja
|pages = 95–128
|editor-first = Kenji
|editor-last = Iwamoto
|script-title = ja:日本映画の誕生
|title = Nihon eiga no tanjō
|trans-title=Birth of Japanese film
|year = 2011
|publisher = Shinwa-sha
|isbn = 978-4-86405-029-6
}}
 
{{Refend}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{Commons category-inline|Katsudō Shashin (1907 film)}}
*{{IMDb title|1226777}}