ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แฟรนไชส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 6902840 โดย Potaptด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:McDonalds in Moncton.jpg|thumb|right|ตัวอย่างแฟรนไชส์แมคโดนัลด์]]
<ref>{{Cite web|title=แฟรนไซส์ (Franchise) คืออะไร|url=https://www.pattanakit.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=524296&Ntype=121|website=www.pattanakit.net}}</ref>'''แฟรนไชส์''' ({{lang-en|franchise}}) เป็นชื่อเรียกการทำธุรกิจโดยมีการให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและการจัดจำหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์โดยชอบธรรม โดยเริ่มมาจากบริษัท ทำรางรถไฟ และบริษัทสาธารณูปโภค ที่พยายามขยายการเติบโตของบริษัทให้มากที่สุด โดยการออกขายสิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ รวมทั้งระบบการทำงานของตัวเองให้ผู้อื่นโดยทำให้มีแบบแผนในการจัดการไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายของธุรกิจผ่านผู้ประกอบการอิสระโดยบริษัทจะให้สิทธิเครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทำธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ในรูปแบบของการทำงานทั้งหมด เช่น ระบบการผลิต ระบบการขาย ระบบการบริหารการตลาด เพื่อที่จะให้รูปแบบวิธีดำเนินธุรกิจในทุกๆสาขาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 18:
 
== ระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย ==
ธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยที่มีการริเริ่มมากกว่า 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ธุรกิจแรกๆ ที่พยายามผลักดันการขยายงานโดยใช้รูปแบบแฟรนไชส์ เป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้าแบบมินิมาร์ท แต่ส่วนใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องความเข้าใจที่ถูกต้องของสิทธิ ที่มักให้แฟรนไชส์เป็นผู้ลงทุน ที่เน้นทำธุรกิจแบบซื้อเพื่อการลงทุน ไม่มีการมองถึงการสร้างธุรกิจของตนเอง บางครั้งยังใช้การบริหารแบบเก่าที่เน้นความเป็นระบบครอบครัวทำให้อัตราความล้มเหลวธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยในภาพรวมเพิ่มขึ้น {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} บางครั้งการลงทุนของแฟรนไชส์ซีที่ประสบปัญหาเกิดจากการจัดการของตนเองบ้าง หรือก็เกิดจากระบบงานของบริษัทแม่ที่เน้นการขยายธุรกิจที่มุ่งผลทางการตลาด อ้างอิงจาก ThaiFranchiseCenter.com
 
== รูปแบบและปัจจัย ==
'''ธุรกิจแฟรนไชส์จะต้องประกอบด้วยปัจจัยหลัก 3 ประการคือ'''
 
เส้น 28 ⟶ 29:
* มีการจ่ายค่าตอบแทนอย่างน้อย 2 อย่าง คือ ค่าแรกเข้าในการใช้เครื่องหมายการค้า (Franchise Fee) และค่าตอบแทนผลดำเนินการ (Royalty Fee)
 
'''สถิติธุรกิจแฟรนไชส์ในไทย'''
 
จำนวนธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยนั้น มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แน่นอนว่าธุรกิจแฟรนไชส์ ก็เหมือนธุรกิจ SMEs อื่นๆในเรื่องของ การล้มหายตายจาก ไปจากระบบนั้น ยอมรับว่ายังคงมีอยู่ สิ่งสำคัญคือ ธุรกิจแฟรนไชส์ในบ้านเรานั้น เหลือที่ทำการตลาดอย่างแท้จริง อยู่กี่กิจการ และขยายสาขาไปได้มากน้อยแค่ไหน
 
ข้อมูลเหล่านี้ มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักวิชาการ, นักวิจัย รวมถึงผู้สนใจในธุรกิจแฟรนไชส์โดยทั่วไป เพื่อให้มองเห็นภาพรวม ความเป็นไป และแนวโน้มการเจริญเติบโตของธุรกิจแฟรนไชส์ ในประเทศไทย เพื่อเป็นดัชนีชี้วัด และเตรียมความพร้อมรับมือกับนานาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) อ้างอิงจาก ThaiFranchiseCenter.com
[[หมวดหมู่:การตลาด]]
[[หมวดหมู่:แฟรนไชส์]]