ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายอาญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 9:
 
มีการยอมรับวัตถุประสงค์ 5 ประหารสำหรับการบังคับใช้กฎหมายอาญาโดยการลงโทษ ได้แก่ การตอบแทน การป้องปราม การหมดความสามารถ การทำให้กลับคืนดีและการคืนสภาพ เขตอำนาจศาลต่าง ๆ ให้น้ำหนักแก่คุณค่าต่างกันไป
* การตอบแทน (retribution): มองว่าอาชญากรสมควรถูกลงโทษในทางใดทางหนึ่ง เป็นเป้าหมายที่มองกันแพร่หลายมากที่สุด อาชญากรใช้ข้อได้เปรียบอย่งาเหมาะมาสม หรือก่อความเสียหายอย่างอยุติธรรมต่อผู้อื่น ดังนั้นกฎหมายอาญาจึงต้องทำให้อาชญากรได้รับผลเสียอันไม่น่าพึงประสงค์เพื่อให้ "สมดุลกัน" ในืำนองเดียวกันในืนองเดียวกัน ประชาชนยอมรับต่อกฎหมายเพื่อให้ได้รับสิทธิในการไม่ถูกฆ่า และหากมีประชาชนฝ่าฝืนกฎหมายข้อนี้ ถือว่าพวกเขายอมสละสิทธิที่กฎหมายมอบให้ ดังนั้นบุคคลที่ฆ่าผู้อื่นจึงอาจถูกประหารชีวิตด้วย ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมี "การรักษาสมดุล"
* การป้องปราม (deterrence): การป้องปรามปัจเจกมุ่งต่อผู้กระทำความผิดคนใดคนหนึ่ง เป้าหมายคือการกำหนดบทลงโทษให้หนักเพียงพอเพื่อให้ประชาชนไม่คิดกระทำความผิด การป้องปรามทั่วไปมุ่งต่อสังคมทั้งหมด
* การหมดความสามรถ (incapacitation): ออกแบบมาเพื่อกันอาชญากรจากสังคมเพื่อให้ปลอดภัยจากการกระทำความผิด โทษอาจมีทั้งจำคุก ประหารชีวิตหรือเนรเทศ
บรรทัด 39:
 
=== องค์ประกอบแห่งความผิดอาญา ===
กฎหมายอาญาโดยทั่วไปห้ามการกระทำที่ไม่พึงประสงค์ ดังนั้นการพิสูจน์ความผิดอาญาจึงอาศัยการพิสูจน์การกระทำบางอย่าง นักวิชาการระบุว่าเป็นข้อกำหนดการกระทำอันจะเป็นความผิดอาญา (actus reus) ความผิดอาญาบางอย่ง โดยเฉพาะความผิดในข้อบังคับสมัยใหม่ไม่ต้องมีการพิสูจน์การกระทำ เรียก ความผิดความรับผิดโดยสิ้นเชิง (strict liability) เช่น การขับขี่ยานพานหะโดยมีแอลกอฮอลในเลือดเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด อย่างไรก็ดี เนื่องจากโทษอาญาอาจรุนแรง ผู้พิพากษาใน[[ระบบคอมมอนลอว์]]จึงมองหาการพิสูจน์เจตนาร้าย (mens rea) ด้วย สำหรับความผิดอาญาที่กำหนดทั้งการกระทำอันจะเป็นความผิดอาญาและเจตนาร้ายนั้น ผู้พิาพากษาผู้พิพากษาสรุปว่าองค์ประกอบทั้งสองจะต้องเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ไม่ใช่เกิดขึ้นติดต่อกันตามวาระกัน<ref>This is demonstrated by ''R v. Church'' [1966] 1 QB 59. Mr. Church had a fight with a woman which rendered her unconscious. He attempted to revive her, but gave up, believing her to be dead. He threw her, still alive, in a nearby river, where she [[drown]]ed. The court held that Mr. Church was not guilty of murder (because he did not ever desire to kill her), but was guilty of [[manslaughter]]. The "chain of events," his act of throwing her into the water and his desire to hit her, coincided. In this manner, it does not matter when a guilty mind and act coincide, as long as at some point they do. See also, ''Fagan v. Metropolitan Police Commissioner'' [1968] 3 All ER 442, where angry Mr Fagan would not take his car off a policeman's foot</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==