ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมายไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10:
 
ฐานเกี่ยวกับการศาลในประเทศไทยไม่ผูกพัน ศาลไม่ถูกผูกพันให้ยึดคำวินิจฉัยของศาลเอง ศาลระดับล่างไม่ถูกผูกพันให้ยึดบรรทัดฐานที่ศาลระดับสูงกว่ากำหนด ทว่า กฎหมายไทยได้รับอิทธิพลจากบรรทัดฐานคอมมอนลอว์ ฉะนั้น ศาลจึงได้รับอิทธิพลอย่างมากจากคำวินิจฉัยก่อน ๆ หรือคำวินิจฉัยของศาลระดับสูงกว่า [[ศาลฎีกา]]จัดพิมพ์คำวินิจฉัยของศาลเอง เรียก "คำพิพากษาศาลฎีกา" ซึ่งมักใช้เป็นอำนาจชั้นรองและกำหนดเลขตามปีที่ออก [[ศาลปกครอง (ประเทศไทย)|ศาลปกครอง]]และ[[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]
 
== กฎหมายแพ่ง ==
ในปัจจุบัน กฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ของประเทศไทย ได้บัญญัติรวมเป็นกฎหมายฉบับเดียวกัน เรียกชื่อว่า "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์" แบ่งออกเป็น 6 บรรพ คือ บรรพ 1 ว่าด้วยหลักทั่วไป บรรพ 2 ว่าด้วยหนี้ บรรพ 3 ว่าด้วยเอกเทศสัญญา บรรพ 4 ว่าด้วยทรัพย์สิน บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัวและบรรพ 6 ว่าด้วยมรดก
 
เหตุที่ประเทศไทยมีการจัดทำประมวลกฎหมายโดยการนำเอากฎหมายแพ่งมารวมกับกฎหมายพาณิชย์เป็นฉบับเดียวคล้ายกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยไม่ได้แยกเป็นประมวลกฎหมายแพ่งเล่มหนึ่งและประมวลกฎหมายพาณิชย์อีกเล่มหนึ่งดังเช่นประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เพราะการค้าพาณิชย์ในขณะที่ร่างกฎหมายยังไม่เจริญก้าวหน้า อีกทั้ง หลักทั่วไปบางอย่างในกฎหมายแพ่งก็สามารถนำไปใช้กับกฎหมายพาณิชย์ได้ ความจำเป็นที่จะต้องแยกกฎหมายพาณิชย์ออกจากกฎหมายแพ่งโดยจัด
 
== กฎหมายมหาชน ==