ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
 
ใน ค.ศ. 2013 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉพาะที่ประมาณ 6.9 ล้านคน และโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออก 3.4 ล้านคน<ref>{{cite journal | author = Global Burden of Disease Study 2013 Collaborators | title = Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 301 acute and chronic diseases and injuries in 188 countries, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013 | journal = The Lancet | volume = 386 | issue = 9995 | pages = 743–800 | date = August 2015 | pmid = 26063472 | pmc = 4561509 | doi = 10.1016/s0140-6736(15)60692-4 }}</ref> ใน ค.ศ. 2015 มีผู้ป่วยที่เคยเป็นโรคหลอดเลือดสมองประมาณ 42.4 ล้านคนที่ยังมีชีวิตอยู่<ref name=GBD2015Pre>{{cite journal | author = GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators | title = Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 | journal = The Lancet | volume = 388 | issue = 10053 | pages = 1545–1602 | date = October 2016 | pmid = 27733282 | pmc = 5055577 | doi = 10.1016/S0140-6736(16)31678-6 }}</ref> ระหว่าง ค.ศ. 1990 ถึง 2010 มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองลดลงประมาณร้อยละ 10 ในประเทศพัฒนาแล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ในประเทศกำลังพัฒนา ใน ค.ศ. 2015 โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่พบมากที่สุดอันดับสองรองจาก[[โรคหลอดเลือดหัวใจ]] ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 6.3 ล้านคน (ร้อยละ 11)<ref name=GBD2015De>{{cite journal | author = GBD 2015 Mortality and Causes of Death Collaborators | title = Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 | journal = The Lancet | volume = 388 | issue = 10053 | pages = 1459–1544 | date = October 2016 | pmid = 27733281 | pmc = 5388903 | doi = 10.1016/S0140-6736(16)31012-1 }}</ref> มีผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลอดสมองชนิดขาดเลือดเฉพาะที่ 3.0 ล้านคน และโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออก 3.3 ล้านคน ผู้ป่วยประมาณกึ่งหนึ่งมีชีวิตต่อไปอีกไม่ถึงหนึ่งปี โดยรวมแล้ว ผู้ป่วยสองในสามเป็นบุคคลอายุเกิน 65 ปี<ref name=Fei2013>{{cite journal | vauthors = Feigin VL, Forouzanfar MH, Krishnamurthi R, Mensah GA, Connor M, Bennett DA, Moran AE, Sacco RL, Anderson L, Truelsen T, O'Donnell M, Venketasubramanian N, Barker-Collo S, Lawes CM, Wang W, Shinohara Y, Witt E, Ezzati M, Naghavi M, Murray C | display-authors = 6 | title = Global and regional burden of stroke during 1990-2010: findings from the Global Burden of Disease Study 2010 | journal = The Lancet | volume = 383 | issue = 9913 | pages = 245–54 | date = January 2014 | pmid = 24449944 | pmc = 4181600 | doi = 10.1016/S0140-6736(13)61953-4 }}</ref>
 
==ปัจจัยเสี่ยง==
ปัจจัยเสี่ยงของโรคลมปัจจุบันได้แก่ [[ความดันโลหิตสูง]] การสูบบุหรี่ การใช้ยาเสพติดและยารักษาโรคบางประเภท ความชรา น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ประวัติการเป็นโรคลมปัจจุบันในอดีต หรือ[[ภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว]] (transient ischemic attack, TIA) [[เบาหวาน]] [[ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลสูง]] การรับประทานอาหารที่มีเกลือสูงเสมอๆ และอาการ[[หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว]] (atrial fibrillation)<ref>[http://www.mountsinai.org/Other/Diseases/Stroke Stroke] Mount Sinai Hospital, New York</ref> ซึ่งความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดของโรคนี้<ref name=Donnan/>
 
==อาการแสดง==