ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| name = โรคหลอดเลือดสมอง
| image = MCA Territory Infarct.svg
| caption = [[CT scan|ภาพซีทีสแกน]]ของสมองแสดงโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดในซีกขวาซึ่งเกิดจากการอุดกั้นของหลอดเลือดแดง (ศรชี้บริเวณที่สีทึบกว่าปกติ) การเปลี่ยนแปลงในซีทีอาจมองไม่เห็นในช่วงแรก<ref>{{cite web |last1=Gaillard |first1=Frank |title=Ischaemic stroke |url=https://radiopaedia.org/articles/ischaemic-stroke |website=radiopaedia.org |access-date=3 June 2018 |language=en}}</ref>
| field = [[ประสาทวิทยา]]
| synonyms = โรคลมปัจจุบัน, โรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง
บรรทัด 20:
| deaths = 6.3 ล้านคน (2015)<ref name=GBD2015De/>
}}
'''โรคลมปัจจุบัน''' หรือ '''โรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง''' หรือ '''โรคหลอดเลือดสมอง''' ({{lang-en|stroke}}) เป็นการหยุดการทำงานของ[[สมอง]]อย่างฉับพลันโดยภาวะทางการแพทย์ซึ่งผู้ป่วยมีสาเหตุจากการรบกวนหลอดเลือดที่ไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยจนทำให้เซลล์ตาย มีโรคนี้อาจเกิดจาก[[หลอดเลือดอยู่สองประเภทหลัก ได้แก่ ชนิดการขาดเลือดเฉพาะที่]]ของสมอง (ischemia) ซึ่งมีสาเหตุอันเนื่องจาก[[ภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด]] (thrombosis) หรือ[[ภาวะมีสิ่งหลุดอุดหลอดเลือด]] (embolism) หรืออาจเกิดจาก[[การตกขาดเลือด]]ไปเลี้ยง (hemorrhage) ในสมองและชนิดเลือดออก ซึ่งมีผลจากภาวะดังกล่าวทำให้ให้สมองบางส่วนที่ขาดเลือดหรือตกเลือดทำงานตามปกติต่อไปไม่ได้ อาการและอาจส่งผลทำให้อาการแสดงของโรคหลอดเลือดสมอง เช่น [[อัมพาตครึ่งซีก]] (hemiplegia;[[receptive ไม่สามารถขยับแขนขาส่วนใดส่วนหนึ่งaphasia|ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์รับความรู้สึก]]หรือซีกใดซีกหนึ่ง)[[expressive ไม่สามารถที่จะทำaphasia|ภาวะเสียการสื่อความเข้าใจหรือพูดได้ชนิดแสดงออก]] เวียนศีรษะหรือ[[Homonymous hemianopsia|ตาบอดครึ่งซีกซ้ายหรือขวา]] (hemianopsia;อาการและอาการแสดงมักปรากฏขึ้นไม่นานหลังเริ่มเกิดโรค ถ้าอาการนั้นคงอยู่ไม่สามารถมองเห็นครึ่งซีกถึงหนึ่งของลานสายตา)<refถึงสองชั่วโมง name=Donnan>{{citeโรคหลอดเลือดสมองนั้นเรียก journal |author=Donnan GA, Fisher M, Macleod M, Davis SM |title=Stroke |journal=Lancet |volume=371 |issue=9624 |pages=1612–23 |year=2008 |month=May |pmid=18468545 |doi=10.1016/S0140-6736[[ภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว]] (08TIA) 60694-7}}</ref> ทั้งนี้ถ้ามีความโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกยังอาจสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะรุนแรงมาก อาการอาจทำให้คงอยู่ได้ถาวร ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวอาจรวมถึงตายปอดบวมและการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
 
ปัจจัยเสี่ยงหลักสำหรับโรคหลอดเลือดสมองคือความดันเลือดสูง ปัจจัยเสี่ยงอื่นเช่น การสูบบุหรี่ โรคอ้วน คอเลสเตอรอลสูงในเลือด โรคเบาหวาน TIA ครั้งก่อน ๆ โรคไตวายระยะสุดท้าย และหัวใจห้องบนเต้นระรัว โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉพาะที่ตรงแบบเกิดจากการอุดกั้นของหลอดเลือด แม้จะมีสาเหตุอื่นที่พบน้อยกว่าด้วย สำหรับโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกเกิดจาก[[เลือดออกในสมองใหญ่|เลือดออกเข้าสู่สมองโดยตรง]] หรือ[[เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง|เลือดออกในช่องระหว่างเยื่อหุ้มสมอง]] สาเหตุของเลือดออกอาจเนื่องจากหลอดเลือดโป่งพองในสมองที่แตก การวินิจฉัยตรงแบบอาศัยการตรวจร่างกาย โดยสนับสนุนจากการถ่ายภาพทางการแพทย์ เช่น [[CT scan|ซีทีสแกน]]หรือ[[การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก|เอ็มอาร์ไอ]] ซีทีสแกนสามารถแยกเลือดออกได้ แต่อาจไม่แยกการขาดเลือดเฉพาะที่ ซึ่งในระยะแรกตามแบบจะไม่ปรากฏในซีทีสแกน การตรวจอื่น เช่น [[การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ]] (ECG) และการตรวจเลือดเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงและแยกสาเหตุอื่นที่เป็นไปได้ ทั้งนี้ น้ำตาลต่ำในเลือดก็อาจก่อให้เกิดอาการคล้ายกันได้
โรคลมปัจจุบันเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ซึ่งสามารถทำให้เสียการทำงานของ[[ระบบประสาท]]อย่างถาวร อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายทำให้พิการและเสียชีวิตได้ นับเป็นสาเหตุหลักของความพิการในสหรัฐอเมริกาและยุโรป และเป็นสาเหตุการตายอันดับที่สองของทั่วโลก และกำลังจะขึ้นเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกในไม่ช้า<ref name="feigin2005">{{cite journal |author=Feigin VL |title=Stroke epidemiology in the developing world |journal=Lancet |volume=365 |issue=9478 |pages=2160–1 |year=2005 |pmid=15978910 |doi=10.1016/S0140-6736 (05) 66755-4}}</ref>
 
การป้องกันประกอบด้วยการลดปัจจัยเสี่ยง การผ่าตัดเพื่อเปิดหลอดเลือดแดงสู่สมองในผู้ที่มีหลอดเลือดคะโรติดตีบ และยาวาร์ฟารินในผู้ป่วยหัวใจห้องบนเต้นระรัว แพทย์อาจแนะนำยาแอสไพรินหรือสแตตินเพื่อป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองมักต้องอาศัยการบริบาลฉุกเฉิน สำหรับโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉพาะที่ ถ้าตรวจพบได้ทันภายในสามถึงสี่ชั่วโมงครึ่ง อาจรักษาได้ด้วยยาที่สามารถสลายลิ่มเลือดอุดตัน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกบางรายอาจได้รับประโยชน์จากการผ่าตัด การรักษาเพื่อพยายามกู้คืนหน้าที่ของสมองที่เสียไป เรียก การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง อย่างไรก็ดี ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลกยังเข้าไม่ถึง
 
ใน ค.ศ. 2013 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉพาะที่ประมาณ 6.9 ล้านคน และโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออก 3.4 ล้านคน ใน ค.ศ. 2015 มีผู้ป่วยที่เคยเป็นโรคหลอดเลือดสมองประมาณ 42.4 ล้านคนที่ยังมีชีวิตอยู่ ระหว่าง ค.ศ. 1990 ถึง 2010 มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองลดลงประมาณร้อยละ 10 ในประเทศพัฒนาแล้ว และเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ในประเทศกำลังพัฒนา ใน ค.ศ. 2015 โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่พบมากที่สุดอันดับสองรองจาก[[โรคหลอดเลือดหัวใจ]] ซึ่งมีผู้เสียชีวิต 6.3 ล้านคน (ร้อยละ 11) ในปีนั้นมีผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลอดสมองชนิดขาดเลือดเฉพาะที่ 3.0 ล้านคน และโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออก 3.3 ล้านคน ผู้ป่วยประมาณกึ่งหนึ่งมีชีวิตต่อไปอีกไม่ถึงหนึ่งปี โดยรวมแล้ว ผู้ป่วยสองในสามเป็นบุคคลอายุเกิน 65 ปี
 
==ปัจจัยเสี่ยง==