ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
P t ka99 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 229:
}}
 
กระทรวงสาธารณสุขเปิดแผนกระจายวัคซีนล็อต 2 จำนวน 8 แสนโดส โดยแบ่งเป็นกลุ่มพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ท่องเที่ยว<ref>{{cite news |title=ไทยกระจาย 'วัคซีนโควิด19' ล็อต 2 มากกว่า 22 จังหวัด |url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/929077 |accessdate=7 April 2021 |work=กรุงเทพธุรกิจ |language=th}}</ref> และหลังได้รับวัคซีนจากแอสตราเซเนกาเพิ่มอีก 5 ล้านโดสในเดือนพฤษภาคม 2564 จะเปิดให้จองวัคซีนผ่านออนไลน์และแอปพลิเคชันหมอพร้อม<ref>{{cite news |title=จองคิวฉีดวัคซีน ไทยถึงเป้าหมายเร็วขึ้น |url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/930452 |accessdate=7 April 2021 |work=กรุงเทพธุรกิจ |language=th}}</ref> ปลายเดือนมีนาคม 2564 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเปิดเผยผลสำรวจซีอีโอ 191 ราย พบว่า ร้อยละ 79.8 กังวลเรื่องการกระจายวัคซีนล่าช้า<ref>{{cite news |title=เอกชนกังวลรัฐฉีดวัคซีนล่าช้า ซ้ำเติมเศรษฐกิจ วอนเปิดทาง รพ.นำเข้า |url=https://www.prachachat.net/economy/news-639587 |accessdate=8 April 2021 |work=ประชาชาติธุรกิจ |date=30 March 2021 |language=th}}</ref> ผู้บริหารโรงพยาบาลเอกชนรายหนึ่งระบุว่า อีกสาเหตุหนึ่งที่เอกชนยังนำเข้าวัคซีนไม่ได้เนื่องจากบริษัทวัคซีนต้องการขายให้กับรัฐบาลเท่านั้นเพื่อเลี่ยงปัญหาการฟ้องร้องจากปัญหาไม่พึงประสงค์จากวัคซีน<ref>{{cite news |title=ภาคท่องเที่ยวจี้รัฐหยุดผูกขาดวัคซีนโควิด วิกฤตเศรษฐกิจรอไม่ได้ |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56491373 |accessdate=8 April 2021 |work=BBC ไทย |date=22 March 2021 |language=th}}</ref> ในเดือนมีนาคม 2564 เริมการทดลองวัคซีน NDV-HXP-S ที่มหาวิทยาลัยมหิดล<ref>{{Cite news|last=Limited|first=Bangkok Post Public Company|title=Thai-made vaccine ready 'by next year'|work=Bangkok Post|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/2066063/thai-made-vaccine-ready-by-next-year|access-date=2021-04-09}}</ref><ref>{{Cite news|last=Zimmer|first=Carl|date=2021-04-05|title=Researchers Are Hatching a Low-Cost Coronavirus Vaccine|language=en-US|work=The New York Times|url=https://www.nytimes.com/2021/04/05/health/hexapro-mclellan-vaccine.html|access-date=2021-04-09|issn=0362-4331}}</ref><ref>{{cite news |title=Thai-developed Covid-19 vaccine starts human trials |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/2087851/thai-developed-covid-19-vaccine-starts-human-trials |accessdate=8 April 2021 |work=Bangkok Post}}</ref> วันที่ 25 มีนาคม 2564 วัคซีนจอห์นสันแอนด์จอห์นสันได้รับอนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นรายที่สาม<ref>{{cite news |title=เกิดผลข้างเคียงอะไรบ้างกับคนไทย หลังเริ่มฉีดวัคซีนโควิด-19 |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56534291 |accessdate=8 April 2021 |work=BBC ไทย |language=th}}</ref> ต่อมา แพทย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดเผยว่า วัคซีนซิโนแวคและแอสตราเซเนกานั้นไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ เพียงแต่ป้องกันการป่วยตามสรรพคุณ<ref>{{cite news |title=‘หมอจุฬาฯ’ กระทุ้งรัฐต้องบอกความจริง ประสิทธิภาพวัคซีนโควิดไทยได้แค่ 62% |url=https://mgronline.com/specialscoop/detail/9640000033905 |accessdate=10 April 2021 |work=ผู้จัดการ |date=9 April 2021 |language=en-th}}</ref> วันที่ 10 เมษายน 2564 นายกรัฐมนตรีลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาการจัดหาวัคนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อพิจารณาวัคซีนทางเลือก ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากโรงพยาบาลเอกชนด้วย<ref>{{cite news |title="นายกฯ" ตั้ง 18 คณะทำงาน จัดหา "วัคซีนทางเลือก" ไร้ชื่อ "อนุทิน" ร่วม |url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2067256 |accessdate=12 April 2021 |work=ไทยรัฐ |date=10 April 2021 |language=th}}</ref> แม้ว่าทางการจีนออกมายอมรับว่าวัคซีนซิโนแวคมีประสิทธิภาพต่ำก็ตาม<ref>{{cite news |title=จีนยอมรับเอง "ซิโนแวค" ประสิทธิภาพการป้องกันโควิดยังต่ำ |url=https://www.thairath.co.th/news/foreign/2067867 |accessdate=17 April 2021 |work=ไทยรัฐ |date=12 April 2021 |language=th}}</ref> แต่กระทรวงสาธารณสุขและแพทย์บางส่วนยังคงยืนยันว่าวัคซีนดังกล่าวมีประสิทธิภาพ<ref>{{cite news |title=สธ. ชี้ วัคซีนซิโนแวคได้มาตรฐาน แม้จีนยอมรับอัตราป้องกันเชื้อโควิดต่ำ |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56713740 |accessdate=17 April 2021 |work=BBC ไทย |date=12 April 2021 |language=th}}</ref><ref>{{cite news |title=หมอธีระวัฒน์ ชี้ไทยต้องเร่งฉีดวัคซีน หลังพบ ซิโนแวค ภูมิจะเกิดหลังฉีดเข็มสอง |url=https://www.thairath.co.th/news/local/2070385 |accessdate=17 April 2021 |work=ไทยรัฐ |date=16 April 2021 |language=th}}</ref> วันที่ 21 เมษายน 2564 กระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดระยองจำนวน 6 รายมีอาการคล้าย[[โรคหลอดเลือดสมอง]]ภายใน 10 นาทีหลังฉีดวัคซีนซิโนแวค<ref>{{cite news |title=คนไทยยังไว้ใจวัคซีนซิโนแวคได้หรือไม่ หลังพบอาการคล้ายสโตรก 6 ราย |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-56827938 |accessdate=21 April 2021 |work=BBC ไทย |language=th}}</ref>
 
== ผลกระทบ ==