ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศรวันดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 67:
| footnotes = 1.) หมายเหตุ: จำนวนประชากรโดยประมาณการอาจลดลงอย่างฉับพลันได้เนื่องจากประชากรที่ติดเชื้อ[[เอดส์]]เป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจส่งผลถึงอายุขัยที่ต่ำลงจำนวนประชากร อัตราการตายของทารกที่เพิ่มสูงขึ้น และอัตราการเสียชีวิตมากขึ้นส่งผลให้จำนวนประชากรและอัตราการเกิดลดลง การเปลี่ยนแปลงของจำนวนประชากรในแต่ละช่วงวัยหรือเพศจึงอาจเกิดขึ้นได้เช่นกัน
}}
<ref>{{Cite web|last=Thailand|first=Sanook Online Ltd|title=ประเทศรวันดา ชื่อเต็ม เมืองหลวง สกุลเงิน ธงชาติ (พจนานุกรมข้อมูลประเทศ)|url=https://dictionary.sanook.com/search/dict-country/%e0%b8%a3%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%99%e0%b8%94%e0%b8%b2|website=dictionary.sanook.com}}</ref>'''รวันดา''' ([[ภาษากิญญาร์วันดา|กิญญาร์วันดา]], [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] และ{{lang-fr|Rwanda}}) หรือชื่อทางการคือ '''สาธารณรัฐรวันดา''' ([[ภาษากิญญาร์วันดา|กิญญาร์วันดา]]: {{lang|rw|Republika y'u Rwanda}}; {{lang-en|Republic of Rwanda}}; {{lang-fr|République du Rwanda}}) เป็น[[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล]]แต่อยู่ติดกับ[[ทะเลสาบเกรตเลกส์ (แอฟริกา)|ทะเลสาบเกรตเลกส์]] (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของ[[ทวีปแอฟริกา]] มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน
 
รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับ[[ยูกันดา]]ทางตอนเหนือ [[บุรุนดี]]ทางตอนใต้ [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]]ทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และ[[แทนซาเนีย]]ที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจาก[[เบลเยียม]] เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ''ดินแดนแห่งเขาพันลูก'' (Pays des Mille Collines เป็น[[ภาษาฝรั่งเศส]] หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็น[[ภาษากิญญาร์วันดา]]) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือ[[เหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรวันดา|เหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์]]ชาวทุตซีในปี [[พ.ศ. 2537]] (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป{{อ้างอิง}}