ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มารี กูว์รี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ethan2345678 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: เปลี่ยนเป็นค.ศ.ตามสจห.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| birth_name = มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา
| birth_date = {{birth date|1867|11|7|df=y}}
| birth_place = [[วอร์ซอ]], [[จักรวรรดิรัสเซีย]]
| death_date = {{death date and age|df=yes|1934|7|4|1867|11|7}}
| death_place = [[ประเทศฝรั่งเศส]]
บรรทัด 16:
| doctoral_students = [[อ็องเดร-หลุยส์ เดอเบียร์น]]<br />[[ออชการ์ มูเรนู]]<br />[[มาร์เกอริต เปอแร|มาร์เกอริต กาเตอรีน เปอแร]]
| known_for = [[กัมมันตภาพรังสี]], [[พอโลเนียม]], [[เรเดียม]]
| spouse = [[ปีแอร์ กูว์รี]]<br<small>> (1895-ค.ศ. 1895–1906) </small>
| prizes = {{nowrap|[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] (ค.ศ. 1903) <br />[[เหรียญเดวี]] (ค.ศ. 1903) <br />[[เหรียญมัตเตอุชชี]] (ค.ศ. 1904) <br />[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]] (ค.ศ. 1911)}}
| footnotes = มารี กูว์รีเป็นคนแรกที่ได้รับ[[รางวัลโนเบล]] ใน ''สองสาขาด้านวิทยาศาสตร์''<br/>และเป็นภรรยาของ[[ปีแยร์ กูว์รี]] และเป็นแม่ของ[[อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี]]และ[[แอฟว์ กูว์รี]]
| signature = Marie Curie Skłodowska Signature Polish.svg
}}
 
'''มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี''' ({{lang-en|Maria Salomea Skłodowska-Curie}}) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า '''มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา''' ({{lang-pl|Marya Salomea Skłodowska}}; {{IPA-pl|ˈmarja salɔˈmɛa skwɔˈdɔfska|pron}}; [[7 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1867]] - [[4 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1934]]) เป็นนักเคมีผู้ค้นพบรังสี[[เรเดียม]] ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของ[[มะเร็ง]] ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูว์รีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน
 
== ประวัติ ==
มารี กูว์รี เป็น[[ชาวโปแลนด์]] เกิดเมื่อวันที่ [[7 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1867]] ที่[[วอร์ซอ|เมืองวอร์ซอ]] เขตวิสทูลา [[จักรวรรดิรัสเซีย]] ซึ่งปัจจุบันเป็น[[ประเทศโปแลนด์]]<ref>[http://guru.sanook.com/history/topic/1582/มารี_กูรี_นักเคมีชาวโปแลนด์เสียชีวิต/ มารี กูรี นักเคมีชาวโปแลนด์เสียชีวิต]</ref> เป็นบุตรของบรอนีสวาวา ({{lang|pl|Bronisława}}) กับววาดึสวอฟ ({{lang|pl|Władysław}}) ววาดึสวอฟ (บิดา) เป็น[[ครู]]สอน[[วิทยาศาสตร์]] และมักพาเธอมาที่[[ห้องปฏิบัติการ]]เสมอ จึงทำให้เธอสนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็ก แม้จะมีเหตุการณ์ทางการเมืองเมื่อ[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]]มาปกครอง[[โปแลนด์]]และบังคับให้ใช้[[ภาษารัสเซีย]]เป็น[[ภาษาทางการ]]ก็ตาม
 
ในสมัยนั้นค่านิยมในสังคมของผู้หญิงส่วนใหญ่จะต้องเรียนการเป็นแม่บ้าน ซึ่งมารี กูว์รี แตกต่างโดยสิ้นเชิง ที่ใส่ใจค้นคว้าทางด้านวิทยาศาสตร์
บรรทัด 31:
หลังจบการศึกษาระดับต้นแล้ว เธอกับพี่สาวก็ทำงานด้วยการเป็นครู[[โรงเรียนอนุบาล|สอนอนุบาล]] สอนหนังสือให้กับเด็ก ๆ แถว ๆ นั้น โดยทั้งสองมุ่งหวังอยากไปเรียนต่อที่[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] แต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่าย เธอจึงให้พี่สาวคือ บรอเนีย ไปเรียนต่อด้าน[[แพทยศาสตร์]]ก่อน พอจบแล้วค่อยส่งเสียเธอเรียนต่อด้าน[[วิทยาศาสตร์]]ต่อไป จนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่[[มหาวิทยาลัยปารีส]] สมใจแต่ด้วยเงินอันน้อยนิดจากพี่สาวไม่พอต่อค่าใช้จ่าย เธอจึงดิ้นรนหางานทำจนได้เป็นผู้ช่วยในห้องปฏิบัติการทางเคมีของ[[ปีแยร์ กูว์รี]] จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกัน แต่ปีแยร์เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถม้าชน ระหว่างที่เรียนไปทำงานไป เธอก็มุ่งมั่นศึกษาทดลองไปเรื่อย ๆ จนมาพบรังสีแร่[[เรเดียม|ธาตุเรเดียม]] โดยได้มาจากแร่[[พิตช์เบลนด์]]ที่เป็น[[ออกไซต์]]ชนิดหนึ่งสามารถ[[แผ่กระจายรังสี]]ได้ จากการเพียรพยายามทดลองมาหลายปีในการสกัดแร่ชนิดต่าง ๆ จนมาพบรังสีดังกล่าวทำให้เธอได้รับ[[ปริญญาเอก]]ในการค้นพบแร่ธาตุเรเดียม
 
จนในปี ค.ศ. 1902 เธอก็สามารถสกัดแร่เรเดียมให้บริสุทธิ์ได้ เรียกว่า ''[[เรเดียมคลอไรด์]]'' ที่สามารถแผ่รังสีได้มากกว่า[[ยูเรเนียม]]หลายเท่า มีคุณสมบัติคือ ให้[[แสงสว่าง]]และ[[ความร้อน]]ได้ และเมื่อแร่นี้แผ่รังสีไปถูกวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะเปลี่ยนสภาพเป็น[[ธาตุกัมมันตรังสี]] และสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันกับแร่เรเดียม จนทำให้เธอได้รับ[[รางวัลโนเบล]]ต่อมา
 
[[ไฟล์:Marie_Curie_1903.jpg|thumb|มารี กูว์รีกูว์รี ในปี ค.ศ. 1903]]
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแร่เรเดียมอย่างหนัก และต่อเนื่องกว่า 4 ปี ทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้ง แม้สามีจะเสียชีวิตก็ตาม ด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยม เมื่อเกิดภาวะ[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ซึ่งผู้คนส่วนมากล้มตายและถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร เธอจึง[[อาสาสมัคร]]เป็นอาสา[[กาชาด]]เพื่อช่วยทหารที่บาดเจ็บ ในการ[[เอกซเรย์]]เคลื่อนที่ตระเวนรักษาตามหน่วยต่าง ๆ จนสงครามสงบเธอก็กลับมาทำงาน แต่ก็ต้องล้มป่วยเพราะผลมาจากการทำงานหนัก และโดนรังสีเรเดียม ทำให้[[ไขกระดูก]]ถูกทำลายและเสียชีวิตในเวลาต่อมา<ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/3/marie/marie4.htm มารี กูว์รี นักวิทยาศาสตร์หญิงผู้มีจิตใจอันประเสริฐ]</ref>
 
บรรทัด 42:
== รางวัลที่ได้รับ ==
[[ไฟล์:Dyplom Sklodowska-Curie.jpg|thumb|200px|ประกาศนียบัตรรางวัลโนเบลของมารี กูว์รี]]
* [[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] [[ค.ศ. 1903]] จากผลงานการพบธาตุเรเดียม<ref>[http://www.icphysics.com/modules.php?name=News&file=article&sid=12&mode=thread&order=0&thold=0 โนเบลสาขาฟิสิกส์] ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์</ref>
* Davy Medal [[ค.ศ. 1903]]
* Matteucci Medal [[ค.ศ. 1904]]
* [[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]] [[ค.ศ. 1911]] จากผลงานการค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม<ref>[http://www.nobel.se/chemistry/laureates/1911 ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี]</ref>
 
== การวิพากษ์วิจารณ์ ==