ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยศิลปากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Phainplang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
'''มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ''' เลขที่ 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 <br />
 
| campus ='''มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์''' เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 <br />
 
'''มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี''' เลขที่ 1 หมู่ 3 ถนนชะอำ–ปราณบุรี ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 76120
บรรทัด 27:
| logo =
| anthem = [[ซานตาลูชีอา]] (Santa Lucia) <br /> ศิลปากรนิยม <br /> กลิ่นจัน
| logo = [[ไฟล์:Silpakorn name logo.png|280250px]]
}}
 
บรรทัด 91:
 
* กลิ่นจัน เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยศิลปากรที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความผูกพันและความรักของผู้ที่เคยใช้ชีวิตช่วงหนึ่งภายในรั้วมหาวิทยาลัยศิลปากร รวมถึงความสามัคคีที่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีให้แก่กันและกัน เพลงกลิ่นจันเป็นเพลงที่มาจาก [[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]] โดยเป็นเพลงที่ใช้ในพิธีการหรือกิจกรรมที่สำคัญต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย<ref>หนังสือ 50 ปี คณะอักษรศาสตร์</ref>
 
== การศึกษา ==
 
มหาวิทยาลัยศิลปากรเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ครอบคลุมทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยมีหน่วยงานจัดการเรียนการสอนทั้งหมด ดังต่อไปนี้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/182/26.PDF ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานของมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๘๒ ง หน้า ๒๖ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙</ref>
{{col-begin|width=98%}}{{col-break|width=33%}}
=== กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ===
* [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเภสัชศาสตร์]]
{{col-break|width=33%}}
=== กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ===
* [[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]]
* [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาศาสตร์]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]]
* [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์]]
* [[คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร]]
{{col-break}}
=== กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ===
* [[คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์]]
* [[คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะดุริยางคศาสตร์]]
* [[คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะโบราณคดี]]
* [[คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะมัณฑนศิลป์]]
* [[คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาการจัดการ]]
* [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะศึกษาศาสตร์]]
* [[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]]
* [[วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร|วิทยาลัยนานาชาติ]]
{{col-end}}
 
=== ส่วนที่จัดการสอนและงานวิจัยเฉพาะระดับบัณฑิตศึกษา ===
* [[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร|บัณฑิตวิทยาลัย]]
 
== วิทยาเขต ==
 
=== วังท่าพระ ===
 
[[วังท่าพระ]] ตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นใน ตรงข้ามพระบรมมหาราชวังและท่าช้างวังหลวง มีพื้นที่ประมาณ 8 ไร่ เดิมเป็นที่ประทับของ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] เป็นวิทยาเขตแรกและเป็นจุดกำเนิดของมหาวิทยาลัย
 
เป็นที่ตั้งของ [[คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์]] [[คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะโบราณคดี]] [[คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะมัณฑนศิลป์]] และหอศิลป์ต่าง ๆ
 
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ยังรวมไปถึงพื้นที่ '''สำนักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน''' เป็นที่ตั้งของสำนักงานอธิการบดี [[คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะดุริยางคศาสตร์]] [[วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร|วิทยาลัยนานาชาติ]] และ [[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร|บัณฑิตวิทยาลัย]]
 
=== วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ===
 
เป็นที่รู้จักในชื่อว่า "ม.ทับแก้ว" ตั้งอยู่ในบริเวณ [[พระราชวังสนามจันทร์]] อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ซึ่งเคยเป็นพระราชวังของ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพื้นที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา แต่ใช้เป็นที่ก่อสร้างอาคารของมหาวิทยาลัยเพียง 428 ไร่
 
เป็นที่ตั้งของ [[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]] [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะศึกษาศาสตร์]] [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาศาสตร์]] [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเภสัชศาสตร์]] และ [[คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]] นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของ [[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร]] ซึ่งเปิดให้มีการเรียนการสอนแบบสหศึกษาแก่นักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษาปีที่ 1–6 และชั้นมัธยมปีที่ 1–6 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนย์วิทยาศาสตร์ และศูนย์บริการวิชาการต่าง ๆ
 
สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้
 
* ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์
* ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระคเณศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว
* ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร
 
=== วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ===
 
สืบเนื่องจากที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคของประเทศไทยในรูปแบบของวิทยาเขตสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงมีปณิธานและปรัชญาการขยายโอกาสทางการศึกษาแก่พื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศ โดยมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์ ให้ใช้ที่ราชพัสดุ ณ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 621 ไร่ และได้รับอนุญาตจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี โดยกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้ใช้พื้นที่เพิ่มเติม จำนวน 200 ไร่ เพื่อรองรับการเรียนการสอนของ [[คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร]]
 
เป็นที่ตั้งของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร [[คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาการจัดการ]] [[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] และคลังโบราณวัตถุของคณะโบราณคดี
 
== สถานที่สำคัญ ==
 
=== วังท่าพระ ===
 
* '''ประตูและกำแพงวังท่าพระ'''
กำแพงก่ออิฐถือปูนมีใบเสมาประกอบ กำแพงนี้คาดว่าก่อสร้างพร้อมกับ [[วังท่าพระ]] ตั้งแต่รัชสมัย [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ปัจจุบันคงเหลือเฉพาะด้านริมถนนหน้าพระลาน ถือเป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร
* '''ท้องพระโรงและกำแพงแก้ว'''
ปัจจุบันเป็นหอศิลป์ของมหาวิทยาลัย ลักษณะท้องพระโรงเป็นแบบเรือน 5 ห้อง เฉลียงรอบหันหน้ายาวออกหน้าวัง รูปทรงท้องพระโรงที่ปฏิสังขรณ์ใหม่นั้นภายนอกคงยึดตามแบบที่ปรากฏเมื่อครั้ง [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แต่ภายในคงไว้แต่เสาเดิม มีบันไดใหญ่เข้าทางด้านหน้าได้ทางเดียว กำแพงนั้นเป็นสถาปัตยกรรมใน [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีลูกกรงที่ทำด้วยเหล็กหล่อเป็นลายสวยงาม และได้รับการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
* '''ตำหนักกลางและตำหนักพรรณราย'''
สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกรุ่นแรก ๆ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวคือเป็นตึกสองชั้น มีเฉลียงหลังหนึ่งหันเข้าหาอีกหลังหนึ่ง ส่วนหลังนอกนั้นอยู่ข้างสวนแก้ว ตึกหลังในที่มีเฉลียงทำเรียบกว่าหลังนอก และมีเสาทึบ หัวเสาเป็นแบบศิลปะโรมัน ช่องคูหาด้านล่างเป็นช่องโค้ง มีการตกแต่งที่ส่วนต่าง ๆ ภายนอกอาคารเล็กน้อย ส่วนตึกหลังนอกมีรูปทรงทึบกว่า มีการตกแต่งผิวหนังโดยการเซาะเป็นร่องในชั้นล่าง ส่วนชั้นบนผนังเรียบ มีเสาติดผนังระหว่างช่องหน้าต่างและประตูต่าง ๆ ด้วยลายปูนปั้นหรือตีตารางไม้ไว้ในช่องแสงเหนือประตูบางส่วน ตึกหลังนอกมีกันสาด มีเท้าแขนรับกันสาดทำอย่างเรียบ ๆ และประดับชายคาด้วยลายฉลุไม้ ตึกหลังในนี้เป็นที่ประทับของ [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย]] พระมารดาของ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] โดยตำหนักกลางนั้นได้รับการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน ปัจจุบันใช้เป็นที่ตั้งของหอศิลป์และหน่วยงานของมหาวิทยาลัย
* '''ศาลาในสวนแก้ว'''
เรียกว่า ศาลาดนตรี เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์เจ้าของวังเคยประทับที่ศาลานี้เพื่อชมการแสดงหรือประชันดนตรีซึ่งจะตั้งวงกันในสวนแก้ว เพราะในวังท่าพระขณะนั้นมีวงดนตรีประจำวังที่มีชื่อเสียง ศาลาในสวนนี้ทำเป็นศาลาโปร่งมีผนังด้านเดียว หันหน้าเข้าหาสวนแก้ว หลังคาเป็นแบบปั้นหยา มีลายประดับอาคารอย่างละเอียดซับซ้อนกว่าตัวตำหนัก จึงเข้าใจว่าสร้างทีหลัง ลายฉลุไม้ทั้งที่ชายคาท้าวแขนระเบียบทำอย่างประณีตงดงาม
* '''อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี'''
เป็นหนึ่งในศูนย์รวมใจของชาวศิลปากร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ศาสตราจารย์ [[ศิลป์ พีระศรี]] ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ตั้งอยู่บริเวณลานอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี หลังตึกกรมศิลปากร
 
=== วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ===
 
* '''[[พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์]]'''
พระตำหนักที่โดดเด่นที่สุดในหมู่พระตำหนักและพระที่นั่ง และเป็นสัญลักษณ์ของ [[พระราชวังสนามจันทร์]] ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสนามใหญ่ สร้างขึ้นราว พ.ศ. 2451 โดยมี [[หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร]] เป็นสถาปนิกผู้ออกแบบ จุดเด่นของพระตำหนักองค์นี้คือสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะคล้ายกับปราสาท ซึ่งเป็นการผสมระหว่างศิลปะเรอเนซองส์ของฝรั่งเศส กับอาคารแบบฮาล์ฟ ทิมเบอร์ของอังกฤษ แต่ดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพอากาศในประเทศไทย ใน พ.ศ. 2458 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามพระตำหนักว่า "พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/415.PDF ประกาศพระราชทานนามพระตำหนัก ที่พระราชวังสนามจันทร์ เมืองนครปฐม], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๓๒ หน้า ๔๑๕ วันที่ ๙ มกราคม ๒๔๕๘</ref> และโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีขึ้นพระตำหนัก เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460
* '''[[พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์]]'''
พระตำหนัก 2 ชั้น สร้างด้วยไม้สักทอง ทาสีแดง มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิกของประเทศทางตะวันตก แต่ได้มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วนให้เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้อน พระตำหนักองค์นี้สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทำเป็นสะพาน จากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ ข้ามคูน้ำเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนัก สะพานดังกล่าวหลังคามุงกระเบื้อง และติดหน้าต่างกระจกทั้งสองด้าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อมติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ ในราว พ.ศ. 2459 โดยมีหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร เป็นสถาปนิกออกแบบ
* '''พระตำหนักทับแก้ว'''
อาคารตึกสองชั้นในพระราชวังสนามจันทร์ เคยเป็นที่ประทับในฤดูหนาวของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในอาคารมีเตาผิงและหลังคา มีปล่องไฟตามแบบตะวันตก ในระหว่างที่มีการซ้อมรบเสือป่า พระตำหนักเป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่ากองเสนาน้อยราบเบารักษาพระองค์ โดยพื้นที่ด้านหลังของพระตำหนักเป็นที่ตั้งของวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อันเป็นที่มาของคำว่า "ม.ทับแก้ว"
* '''[[พระตำหนักทับขวัญ]]'''
เป็นเรือนไทยภาคกลางที่อาจเรียกได้ว่าสมบูรณ์แบบที่สุด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณ และใช้พระตำหนักองค์นี้เป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่าราบหนักรักษาพระองค์ โดยบริเวณกลางชานเรือนปลูกต้นจันใหญ่แผ่กิ่งก้านไว้ให้ร่มเงาอยู่ เหตุนี้ต้นจันจึงถูกกำหนดให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย
* '''เทวาลัยคเณศร์'''
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ณ ที่อันเป็นศูนย์กลางของพระราชวังสนามจันทร์ สำหรับประดิษฐานพระคเณศ ซึ่งนับถือว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ ปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง และเพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งพระราชวังสนามจันทร์ และเมื่อมองจากพระที่นั่งพิมานปฐม จะเห็นพระปฐมเจดีย์ เทวาลัยคเณศร์ และพระที่นั่งพิมานปฐมอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
* '''อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล'''
สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ศาสตราจารย์ [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]] บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ก่อตั้งวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่บริเวณหน้าคณะศึกษาศาสตร์ ทางทิศเหนือของสำนักงานอธิการบดี
* '''สระแก้ว สะพานสระแก้ว และศาลาสระแก้ว'''
สระน้ำขนาดใหญ่กลางมหาวิทยาลัย อยู่คู่กับพระราชวังสนามจันทร์ มีบรรยากาศร่มรื่น มีการสร้างสะพานข้ามสระหลายแห่ง แต่ที่โดดเด่นคือสะพานไม้หน้าโรงอาหารสระแก้ว ใกล้กันมีศาลาไม้แปดเหลี่ยมแบบโปร่ง ฉลุตามแบบตะวันตก สระน้ำนี้เป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ของวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและใช้จัดงานลอยกระทงที่มีชื่อเสียง
* '''ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร'''
สร้างขึ้นในวโรกาสที่ [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] เจริญพระชนมพรรษา 6 รอบ 72 พรรษา วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 เป็นอาคารขนาดใหญ่ ขนาดความสูง 2 ชั้น ใช้ในกิจกรรมสำคัญของมหาวิทยาลัย อาทิ พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา พิธีปฐมนิเทศและบายศรีสู่ขวัญนักศึกษาชั้นปีที่ 1
 
=== วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ===
 
* '''เทวาลัยพระคเณศ'''
พระคเณศหล่อโลหะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หน้าตักกว้าง 96 นิ้ว ประดิษฐานเมื่อ พ.ศ. 2550 ปัจจุบันอยู่บริเวณลานเทวาลัยพระคเณศ เนื่องในปีมหามงคลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดย [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเททองหล่อองค์พระคเณศ ออกแบบปั้นและหล่อโดย อาจารย์ [[เสวต เทศน์ธรรม]] ประติมากรอาวุโส ศิษย์คนสำคัญของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นสิริมงคลแก่วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
* '''ลานประติมากรรม'''
ลานเนินสูงต่ำหลายเนิน ปูคลุมทั้งหมดด้วยสนามหญ้า มีต้นไม้และสระน้ำขนาดใหญ่ กว้างขวาง จัดแสดงผลงานประติมากรรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากทั้งในและต่างประเทศหลายชิ้น ตั้งอยู่บริเวณหน้าวิทยาเขต มีชื่อเล่นว่า "ลานเทเลทับบีส์" เนื่องจากมีลักษณะคล้ายกับสถานที่ในละครทีวีเรื่องเทเลทับบีส์ เป็นสถานที่พักผ่อนและใช้จัดกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ พิธีบรวงสวงพระคเณศ เทศกาลตลาดศิลป์ และพิธีลอยกระทง
* '''อาคารบริหาร'''
อาคารสูง 7 ชั้น มีลักษณะโดดเด่น ก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ใช้วัสดุและแนวคิดประหยัดพลังงาน เป็นที่ตั้งของสำนักงานอธิการบดีและหน่วยงานต่าง ๆ ในวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี และเป็นสัญลักษณ์ของวิทยาเขต ด้านข้างอาคารมีทางเดินเชื่อมกับอาคารเรียนรวม 1 เรียกว่าระเบียงชงโค
* '''สถาบันศิลปสถาปัตยกรรมไทยเฉลิมพระเกียรติ'''
 
=== ระเบียงภาพ ===
 
<gallery>
ไฟล์:Silpakorn university Wang Tha Phra campus.jpg|<center>มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Half mast for Princess Bejaratana Rajasuda at Wang Tha Phra, Silpakorn University.JPG|<center>ประตู มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Silpakorn University Sign 2012.jpg|<center>กำแพง มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Lascar Building of Silpakorn University (4510749232).jpg|<center>ท้องพระโรงและกำแพงแก้ว วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Silpa Bhirasri.jpg|<center>อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ใน มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Sanam Chandra Palace Campus main gate.jpg|<center>ประตูฝั่งถนนทรงพล หน้า มศก. สนามจันทร์</center>
ไฟล์:Kaew Bridge in Sanam Chandra Palace Campus.jpg|<center>สระแก้วและสะพานสระแก้ว ใน มศก. สนามจันทร์</center>
</gallery>
 
== วันสำคัญของมหาวิทยาลัยศิลปากร ==
 
* '''วันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร'''
วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 เป็นวันที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยศิลปากร"
* '''วันศิลป์ พีระศรี'''
ด้วยคุณูปการที่ ศาสตราจารย์ [[ศิลป์ พีระศรี]] มีให้ต่อประเทศไทย ทำให้มีการรำลึกถึงท่านทุกวันที่ 15 กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายเกิดของท่าน เรียกกันว่า "วันศิลป์ พีระศรี" โดยถือเป็นวันสำคัญของวงการศิลปะไทยและนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร ในวันศิลป์ พีระศรีนั้น มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จะจัดกิจกรรมขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อให้ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่าหรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของท่าน มีการวางดอกไม้เป็นการรำลึกถึงท่านที่ลานอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ โดยนักศึกษาจะเปิดร้านขายของที่ระลึกและมีการแสดงดนตรีสดตลอดทั้งวัน นอกจากนั้นยังมีการเปิดให้ประชาชนเข้าร่วมแสดงความเคารพต่ออัฐิของท่านใน [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์]] และพิธีสำคัญจะเริ่มขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งทุ่ม ซึ่งจะเป็นการจุดเทียนที่ลานอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี พร้อมไปกับการร้องเพลงซานตาลูชีอา และเพลงศิลปากรนิยม เพื่อเป็นการรำลึกถึงท่านในวันสำคัญนี้
* '''วันศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล'''
เป็นบุคคลที่มหาวิทยาลัยศิลปากรมีความภาคภูมิใจในเกียรติประวัติและเกียรติคุณของท่าน ท่านมีคุณปการด้านการศึกษาที่โดดเด่น จนได้รับการยกย่องจาก [[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]] หรือ ยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็น [[รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก|บุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา]] เนื่องในวาระฉลองชาติกาลครบ 100 ปี เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546
 
เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ท่านเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยดำรงตำแหน่ง 3 วาระเป็นท่านแรก และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ พระราชวังสนามจันทร์ โดยตั้งคณะอักษรศาสตร์ขึ้นเป็นคณะวิชาแรก แล้วจึงมีคณะอื่น ๆ ขึ้นมาตามลำดับดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ท่านจึงเป็นเป็นผู้มีส่วนพัฒนามหาวิทยาลัยให้ก้าวหน้า ทำให้เกิดการขยายตัวทางการศึกษาหลายสาขาวิชา มหาวิทยาลัยมีความรำลึกถึงพระคุณของ ศาสตราจารย์ [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]] เป็นอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้ วันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็น "วันศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล" และได้จัดกิจกรรมในวันดังกล่าวเพื่อรำลึกถึงพระคุณท่านที่มีต่อมหาวิทยาลัยศิลปากรมาตั้งแต่ พ.ศ. 2545 อันเป็นปีที่เปิดอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
 
== พิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยศิลปากร ==
 
[[พิธีสำเร็จการศึกษา|พิธีพระราชทานปริญญาบัตร]] ของมหาวิทยาลัยศิลปากรจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี อดีตผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์ [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] โดยเสด็จฯ ครั้งแรกในวันจันทร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่ตรงกับวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ท้องพระโรง [[วังท่าพระ]]<ref>พิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยศิลปากร หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยศิลปากร</ref>
 
ปัจจุบัน [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
== ทำเนียบนายกคณะกรรมการและนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ==
เส้น 259 ⟶ 388:
 
* '''หมายเหตุ''' ตำแหน่งทางวิชาการในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งในขณะนั้น
 
== วิทยาเขต ==
 
=== วังท่าพระ ===
 
[[วังท่าพระ]] ตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นใน ตรงข้ามพระบรมมหาราชวังและท่าช้างวังหลวง มีพื้นที่ประมาณ 8 ไร่ เดิมเป็นที่ประทับของ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] เป็นวิทยาเขตแรกและเป็นจุดกำเนิดของมหาวิทยาลัย
 
เป็นที่ตั้งของ [[คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์]] [[คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะโบราณคดี]] [[คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะมัณฑนศิลป์]] และหอศิลป์ต่าง ๆ
 
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ยังรวมไปถึงพื้นที่ '''สำนักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน''' เป็นที่ตั้งของสำนักงานอธิการบดี [[คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะดุริยางคศาสตร์]] [[วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร|วิทยาลัยนานาชาติ]] และ [[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร|บัณฑิตวิทยาลัย]]
 
=== วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ===
 
เป็นที่รู้จักในชื่อว่า "ม.ทับแก้ว" ตั้งอยู่ในบริเวณ [[พระราชวังสนามจันทร์]] อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ซึ่งเคยเป็นพระราชวังของ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพื้นที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา แต่ใช้เป็นที่ก่อสร้างอาคารของมหาวิทยาลัยเพียง 428 ไร่
 
เป็นที่ตั้งของ [[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]] [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะศึกษาศาสตร์]] [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาศาสตร์]] [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเภสัชศาสตร์]] และ [[คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]] นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของ [[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร]] ซึ่งเปิดให้มีการเรียนการสอนแบบสหศึกษาแก่นักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษาปีที่ 1–6 และชั้นมัธยมปีที่ 1–6 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนย์วิทยาศาสตร์ และศูนย์บริการวิชาการต่าง ๆ
 
สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้
 
* ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์
* ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระคเณศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว
* ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร
 
=== วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ===
 
สืบเนื่องจากที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคของประเทศไทยในรูปแบบของวิทยาเขตสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงมีปณิธานและปรัชญาการขยายโอกาสทางการศึกษาแก่พื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศ โดยมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์ ให้ใช้ที่ราชพัสดุ ณ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 621 ไร่ และได้รับอนุญาตจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี โดยกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้ใช้พื้นที่เพิ่มเติม จำนวน 200 ไร่ เพื่อรองรับการเรียนการสอนของ [[คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร]]
 
เป็นที่ตั้งของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร [[คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาการจัดการ]] [[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] และคลังโบราณวัตถุของคณะโบราณคดี
 
== คณะวิชา ==
 
มหาวิทยาลัยศิลปากรเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ครอบคลุมทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยมีหน่วยงานจัดการเรียนการสอนทั้งหมด ดังต่อไปนี้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/182/26.PDF ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานของมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๙], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๘๒ ง หน้า ๒๖ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙</ref>
 
* [[คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์]]
* [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์]]
* [[คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะโบราณคดี]]
* [[คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะมัณฑนศิลป์]]
* [[คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะอักษรศาสตร์]]
* [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะศึกษาศาสตร์]]
* [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาศาสตร์]]
* [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเภสัชศาสตร์]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]]
* [[คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะดุริยางคศาสตร์]]
* [[คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร]]
* [[คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะวิทยาการจัดการ]]
* [[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร|คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]]
* [[วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร|วิทยาลัยนานาชาติ]]
* [[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร|บัณฑิตวิทยาลัย]]
 
== สถานที่สำคัญ ==
 
=== วังท่าพระ ===
 
* '''ประตูและกำแพงวังท่าพระ'''
กำแพงก่ออิฐถือปูนมีใบเสมาประกอบ กำแพงนี้คาดว่าก่อสร้างพร้อมกับ [[วังท่าพระ]] ตั้งแต่รัชสมัย [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ปัจจุบันคงเหลือเฉพาะด้านริมถนนหน้าพระลาน ถือเป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร
* '''ท้องพระโรงและกำแพงแก้ว'''
ปัจจุบันเป็นหอศิลป์ของมหาวิทยาลัย ลักษณะท้องพระโรงเป็นแบบเรือน 5 ห้อง เฉลียงรอบหันหน้ายาวออกหน้าวัง รูปทรงท้องพระโรงที่ปฏิสังขรณ์ใหม่นั้นภายนอกคงยึดตามแบบที่ปรากฏเมื่อครั้ง [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แต่ภายในคงไว้แต่เสาเดิม มีบันไดใหญ่เข้าทางด้านหน้าได้ทางเดียว กำแพงนั้นเป็นสถาปัตยกรรมใน [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีลูกกรงที่ทำด้วยเหล็กหล่อเป็นลายสวยงาม และได้รับการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
* '''ตำหนักกลางและตำหนักพรรณราย'''
สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกรุ่นแรก ๆ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวคือเป็นตึกสองชั้น มีเฉลียงหลังหนึ่งหันเข้าหาอีกหลังหนึ่ง ส่วนหลังนอกนั้นอยู่ข้างสวนแก้ว ตึกหลังในที่มีเฉลียงทำเรียบกว่าหลังนอก และมีเสาทึบ หัวเสาเป็นแบบศิลปะโรมัน ช่องคูหาด้านล่างเป็นช่องโค้ง มีการตกแต่งที่ส่วนต่าง ๆ ภายนอกอาคารเล็กน้อย ส่วนตึกหลังนอกมีรูปทรงทึบกว่า มีการตกแต่งผิวหนังโดยการเซาะเป็นร่องในชั้นล่าง ส่วนชั้นบนผนังเรียบ มีเสาติดผนังระหว่างช่องหน้าต่างและประตูต่าง ๆ ด้วยลายปูนปั้นหรือตีตารางไม้ไว้ในช่องแสงเหนือประตูบางส่วน ตึกหลังนอกมีกันสาด มีเท้าแขนรับกันสาดทำอย่างเรียบ ๆ และประดับชายคาด้วยลายฉลุไม้ ตึกหลังในนี้เป็นที่ประทับของ [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย]] พระมารดาของ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] โดยตำหนักกลางนั้นได้รับการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน ปัจจุบันใช้เป็นที่ตั้งของหอศิลป์และหน่วยงานของมหาวิทยาลัย
* '''ศาลาในสวนแก้ว'''
เรียกว่า ศาลาดนตรี เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์เจ้าของวังเคยประทับที่ศาลานี้เพื่อชมการแสดงหรือประชันดนตรีซึ่งจะตั้งวงกันในสวนแก้ว เพราะในวังท่าพระขณะนั้นมีวงดนตรีประจำวังที่มีชื่อเสียง ศาลาในสวนนี้ทำเป็นศาลาโปร่งมีผนังด้านเดียว หันหน้าเข้าหาสวนแก้ว หลังคาเป็นแบบปั้นหยา มีลายประดับอาคารอย่างละเอียดซับซ้อนกว่าตัวตำหนัก จึงเข้าใจว่าสร้างทีหลัง ลายฉลุไม้ทั้งที่ชายคาท้าวแขนระเบียบทำอย่างประณีตงดงาม
* '''อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี'''
เป็นหนึ่งในศูนย์รวมใจของชาวศิลปากร สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ศาสตราจารย์ [[ศิลป์ พีระศรี]] ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ตั้งอยู่บริเวณลานอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี หลังตึกกรมศิลปากร
 
=== วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ===
 
* '''[[พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์]]'''
พระตำหนักที่โดดเด่นที่สุดในหมู่พระตำหนักและพระที่นั่ง และเป็นสัญลักษณ์ของ [[พระราชวังสนามจันทร์]] ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสนามใหญ่ สร้างขึ้นราว พ.ศ. 2451 โดยมี [[หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร]] เป็นสถาปนิกผู้ออกแบบ จุดเด่นของพระตำหนักองค์นี้คือสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะคล้ายกับปราสาท ซึ่งเป็นการผสมระหว่างศิลปะเรอเนซองส์ของฝรั่งเศส กับอาคารแบบฮาล์ฟ ทิมเบอร์ของอังกฤษ แต่ดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพอากาศในประเทศไทย ใน พ.ศ. 2458 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามพระตำหนักว่า "พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์"<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/415.PDF ประกาศพระราชทานนามพระตำหนัก ที่พระราชวังสนามจันทร์ เมืองนครปฐม], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๓๒ หน้า ๔๑๕ วันที่ ๙ มกราคม ๒๔๕๘</ref> และโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีขึ้นพระตำหนัก เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460
* '''[[พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์]]'''
พระตำหนัก 2 ชั้น สร้างด้วยไม้สักทอง ทาสีแดง มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิกของประเทศทางตะวันตก แต่ได้มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วนให้เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้อน พระตำหนักองค์นี้สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทำเป็นสะพาน จากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ ข้ามคูน้ำเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนัก สะพานดังกล่าวหลังคามุงกระเบื้อง และติดหน้าต่างกระจกทั้งสองด้าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อมติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ ในราว พ.ศ. 2459 โดยมีหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร เป็นสถาปนิกออกแบบ
* '''พระตำหนักทับแก้ว'''
อาคารตึกสองชั้นในพระราชวังสนามจันทร์ เคยเป็นที่ประทับในฤดูหนาวของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในอาคารมีเตาผิงและหลังคา มีปล่องไฟตามแบบตะวันตก ในระหว่างที่มีการซ้อมรบเสือป่า พระตำหนักเป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่ากองเสนาน้อยราบเบารักษาพระองค์ โดยพื้นที่ด้านหลังของพระตำหนักเป็นที่ตั้งของวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อันเป็นที่มาของคำว่า "ม.ทับแก้ว"
* '''[[พระตำหนักทับขวัญ]]'''
เป็นเรือนไทยภาคกลางที่อาจเรียกได้ว่าสมบูรณ์แบบที่สุด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณ และใช้พระตำหนักองค์นี้เป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่าราบหนักรักษาพระองค์ โดยบริเวณกลางชานเรือนปลูกต้นจันใหญ่แผ่กิ่งก้านไว้ให้ร่มเงาอยู่ เหตุนี้ต้นจันจึงถูกกำหนดให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย
* '''เทวาลัยคเณศร์'''
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ณ ที่อันเป็นศูนย์กลางของพระราชวังสนามจันทร์ สำหรับประดิษฐานพระคเณศ ซึ่งนับถือว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ ปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง และเพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งพระราชวังสนามจันทร์ และเมื่อมองจากพระที่นั่งพิมานปฐม จะเห็นพระปฐมเจดีย์ เทวาลัยคเณศร์ และพระที่นั่งพิมานปฐมอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
* '''อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล'''
สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ศาสตราจารย์ [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]] บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ก่อตั้งวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่บริเวณหน้าคณะศึกษาศาสตร์ ทางทิศเหนือของสำนักงานอธิการบดี
* '''สระแก้ว สะพานสระแก้ว และศาลาสระแก้ว'''
สระน้ำขนาดใหญ่กลางมหาวิทยาลัย อยู่คู่กับพระราชวังสนามจันทร์ มีบรรยากาศร่มรื่น มีการสร้างสะพานข้ามสระหลายแห่ง แต่ที่โดดเด่นคือสะพานไม้หน้าโรงอาหารสระแก้ว ใกล้กันมีศาลาไม้แปดเหลี่ยมแบบโปร่ง ฉลุตามแบบตะวันตก สระน้ำนี้เป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ของวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและใช้จัดงานลอยกระทงที่มีชื่อเสียง
* '''ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร'''
สร้างขึ้นในวโรกาสที่ [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] เจริญพระชนมพรรษา 6 รอบ 72 พรรษา วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 เป็นอาคารขนาดใหญ่ ขนาดความสูง 2 ชั้น ใช้ในกิจกรรมสำคัญของมหาวิทยาลัย อาทิ พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา พิธีปฐมนิเทศและบายศรีสู่ขวัญนักศึกษาชั้นปีที่ 1
 
=== วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ===
 
* '''เทวาลัยพระคเณศ'''
พระคเณศหล่อโลหะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หน้าตักกว้าง 96 นิ้ว ประดิษฐานเมื่อ พ.ศ. 2550 ปัจจุบันอยู่บริเวณลานเทวาลัยพระคเณศ เนื่องในปีมหามงคลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดย [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเททองหล่อองค์พระคเณศ ออกแบบปั้นและหล่อโดย อาจารย์ [[เสวต เทศน์ธรรม]] ประติมากรอาวุโส ศิษย์คนสำคัญของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นสิริมงคลแก่วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
* '''ลานประติมากรรม'''
ลานเนินสูงต่ำหลายเนิน ปูคลุมทั้งหมดด้วยสนามหญ้า มีต้นไม้และสระน้ำขนาดใหญ่ กว้างขวาง จัดแสดงผลงานประติมากรรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากทั้งในและต่างประเทศหลายชิ้น ตั้งอยู่บริเวณหน้าวิทยาเขต มีชื่อเล่นว่า "ลานเทเลทับบีส์" เนื่องจากมีลักษณะคล้ายกับสถานที่ในละครทีวีเรื่องเทเลทับบีส์ เป็นสถานที่พักผ่อนและใช้จัดกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ พิธีบรวงสวงพระคเณศ เทศกาลตลาดศิลป์ และพิธีลอยกระทง
* '''อาคารบริหาร'''
อาคารสูง 7 ชั้น มีลักษณะโดดเด่น ก่อสร้างด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ใช้วัสดุและแนวคิดประหยัดพลังงาน เป็นที่ตั้งของสำนักงานอธิการบดีและหน่วยงานต่าง ๆ ในวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี และเป็นสัญลักษณ์ของวิทยาเขต ด้านข้างอาคารมีทางเดินเชื่อมกับอาคารเรียนรวม 1 เรียกว่าระเบียงชงโค
* '''สถาบันศิลปสถาปัตยกรรมไทยเฉลิมพระเกียรติ'''
 
=== ระเบียงภาพ ===
 
<gallery>
ไฟล์:Silpakorn university Wang Tha Phra campus.jpg|<center>มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Half mast for Princess Bejaratana Rajasuda at Wang Tha Phra, Silpakorn University.JPG|<center>ประตู มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Silpakorn University Sign 2012.jpg|<center>กำแพง มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Lascar Building of Silpakorn University (4510749232).jpg|<center>ท้องพระโรงและกำแพงแก้ว วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Silpa Bhirasri.jpg|<center>อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ใน มศก. วังท่าพระ</center>
ไฟล์:Sanam Chandra Palace Campus main gate.jpg|<center>ประตูฝั่งถนนทรงพล หน้า มศก. สนามจันทร์</center>
ไฟล์:Kaew Bridge in Sanam Chandra Palace Campus.jpg|<center>สระแก้วและสะพานสระแก้ว ใน มศก. สนามจันทร์</center>
</gallery>
 
== วันสำคัญของมหาวิทยาลัยศิลปากร ==
 
* '''วันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร'''
วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 เป็นวันที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยศิลปากร"
* '''วันศิลป์ พีระศรี'''
ด้วยคุณูปการที่ ศาสตราจารย์ [[ศิลป์ พีระศรี]] มีให้ต่อประเทศไทย ทำให้มีการรำลึกถึงท่านทุกวันที่ 15 กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายเกิดของท่าน เรียกกันว่า "วันศิลป์ พีระศรี" โดยถือเป็นวันสำคัญของวงการศิลปะไทยและนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร ในวันศิลป์ พีระศรีนั้น มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จะจัดกิจกรรมขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อให้ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่าหรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของท่าน มีการวางดอกไม้เป็นการรำลึกถึงท่านที่ลานอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ โดยนักศึกษาจะเปิดร้านขายของที่ระลึกและมีการแสดงดนตรีสดตลอดทั้งวัน นอกจากนั้นยังมีการเปิดให้ประชาชนเข้าร่วมแสดงความเคารพต่ออัฐิของท่านใน [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์]] และพิธีสำคัญจะเริ่มขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งทุ่ม ซึ่งจะเป็นการจุดเทียนที่ลานอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี พร้อมไปกับการร้องเพลงซานตาลูชีอา และเพลงศิลปากรนิยม เพื่อเป็นการรำลึกถึงท่านในวันสำคัญนี้
* '''วันศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล'''
เป็นบุคคลที่มหาวิทยาลัยศิลปากรมีความภาคภูมิใจในเกียรติประวัติและเกียรติคุณของท่าน ท่านมีคุณปการด้านการศึกษาที่โดดเด่น จนได้รับการยกย่องจาก [[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]] หรือ ยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็น [[รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก|บุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา]] เนื่องในวาระฉลองชาติกาลครบ 100 ปี เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546
 
เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ท่านเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยดำรงตำแหน่ง 3 วาระเป็นท่านแรก และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ พระราชวังสนามจันทร์ โดยตั้งคณะอักษรศาสตร์ขึ้นเป็นคณะวิชาแรก แล้วจึงมีคณะอื่น ๆ ขึ้นมาตามลำดับดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ท่านจึงเป็นเป็นผู้มีส่วนพัฒนามหาวิทยาลัยให้ก้าวหน้า ทำให้เกิดการขยายตัวทางการศึกษาหลายสาขาวิชา มหาวิทยาลัยมีความรำลึกถึงพระคุณของ ศาสตราจารย์ [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]] เป็นอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้ วันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็น "วันศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล" และได้จัดกิจกรรมในวันดังกล่าวเพื่อรำลึกถึงพระคุณท่านที่มีต่อมหาวิทยาลัยศิลปากรมาตั้งแต่ พ.ศ. 2545 อันเป็นปีที่เปิดอนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
 
== พิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยศิลปากร ==
 
[[พิธีสำเร็จการศึกษา|พิธีพระราชทานปริญญาบัตร]] ของมหาวิทยาลัยศิลปากรจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี อดีตผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์ [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] โดยเสด็จฯ ครั้งแรกในวันจันทร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่ตรงกับวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ท้องพระโรง [[วังท่าพระ]]<ref>พิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยศิลปากร หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยศิลปากร</ref>
 
ปัจจุบัน [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
== บุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ==