ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การชูสามนิ้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: File:Panorama Democracy Monument - Respect democracy THAILAND.jpg|thumb|upright=1.5|ผู้ประท้วงในประเทศไทยชูสามน...
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 12:
===ประเทศไทย===
 
สัญลักษณ์นี้กลายเป็นเครื่องสื่อถึงการสนับสนุนประชาธิปไตยในโลกจริงเป็นครั้งแรกหลังจากที่เกิด[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]]<ref>{{cite news |title='Hunger Games' salute back |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1969907/hunger-games-salute-back |access-date=4 March 2021 |work=Bangkok Post |date=18 August 2020}}</ref> และ[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] ผู้ก่อรัฐประหาร ได้ห้ามแสดงสัญลักษณ์ดังกล่าว<ref>{{cite news |title=Hunger Games salute banned by Thai military |url=https://www.theguardian.com/world/2014/jun/03/hunger-games-salute-banned-thailand |access-date=4 March 2021 |work=The Guardian |agency=Associated Press |date=3 June 2014 |language=en}}</ref> นับแต่นั้น ผู้ประท้วงได้เพิ่มเติมความหมายเชิงสัญลักษณ์ให้แก่การชูสามนิ้ว โดยระบุว่า หมายถึง แนวคิดเรื่อง[[เสรีภาพ ความเสมอภาค ภราดรภาพ]] ในจาก[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]<ref>{{cite news |last1=Tharoor |first1=Ishaan |title=Why are China and Thailand scared of the 'Hunger Games'? |url=https://www.washingtonpost.com/news/worldviews/wp/2014/11/20/why-are-china-and-thailand-scared-of-the-hunger-games/ |access-date=4 March 2021 |work=Washington Post |date=20 November 2014}}</ref> ภายหลัง [[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563|ผู้ประท้วงใน พ.ศ. 2563]] ได้นำสัญลักษณ์นี้กลับมาใช้อีก<ref>{{cite web |last1=Zheng |first1=Sara |title=From Belarus to Thailand: Hong Kong's protest playbook is spreading everywhere |url=https://www.inkstonenews.com/politics/belarus-thailand-hong-kongs-protest-playbook-spreading-everywhere/article/3097959 |website=Inkstone |publisher=South China Morning Post |access-date=6 March 2021 |location=Hong Kong |language=en |date=19 August 2020}}</ref>
 
===ฮ่องกง===