ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คิง เพาเวอร์ มหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไข error แม่แบบ
แก้ไขการพิมพ์
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ตึกระฟ้า
| building_name = คิง เพาเวอร์ มหานคร <br /> <small>King Power MahaNakhon</small>
| image = [[ไฟล์:King Power Mahanakhon Logo.jpg|120110px]]<br />[[ไฟล์:Mahanakhon_2019_Novembre.jpg|250px]]
| caption = ตึกคิง เพาเวอร์ มหานคร เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2562
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
| embed = yes
| coordinates = {{coord|13|43|25|N|100|31|42|E|type:landmark_region:TH|display=none}}
}}
| location = 92 [[ถนนนราธิวาสราชนครินทร์]] <br />แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] <br /> [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
| coordinates = {{coord|13|43|25|N|100|31|42|E|display=inline}}
| latd = 13| latm = 43| lats = 27| latNS = N
| longd = 100| longm = 31| longs = 42| longEW = E
| iso_region = TH
| coordinates_display = title
| status = <span style="color:green"> เปิดให้บริการ </span>
| groundbreaking = [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2554]]
เส้น 26 ⟶ 27:
'''คิง เพาเวอร์ มหานคร''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: King Power MahaNakhon) ชื่อเดิมอาคาร '''มหานคร''' เป็น[[ตึกระฟ้า]]ในรูปแบบอาคารประเภทใช้ประโยชน์ผสมผสาน ตั้งอยู่ติดกับ[[สถานีช่องนนทรี]] ของ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม]] ในย่าน[[สีลม]]และ[[สาทร]]ซึ่งเป็นย่านธุรกิจสำคัญของ[[กรุงเทพมหานคร]] ออกแบบให้เสมือนโอบล้อมด้วยริบบิ้น 3 มิติ หรือ[[พิกเซล]] เป็นอาคารกระจกทั้งหลัง สร้างสรรค์โดยบริษัทสถาปนิกในกลุ่มบริษัท บูโร โอเล่อ เชียเรน กรุ๊ป
 
คิง เพาเวอร์ มหานคร เคยเป็น[[รายชื่ออาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทย|ตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในประเทศไทย]] จนถูกทำลายสถิติในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2561<ref>{{cite press release |last=PACE |title=มหานครตึกสูงที่สุดในกทม.|url= http://www.pacedev.com/news_clipping/full/condo_guide_mahanakhon_the_tallest_building_in_bangkok|accessdate=1 January 2011 |date=1 January 2011 |work=PACE |publisher=PACE Development Corporation PLC}}</ref> โดยอาคารแมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟร้อนท์ เรสซิเดนเซส ซึ่งตั้งอยู่ในโครงการ[[ไอคอนสยาม]] (ความสูง 318.95 เมตร) ปัจจุบันเป็นอาคารที่สูงที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย ด้วยความสูง 314.2 เมตร จำนวน 78 ชั้น ประกอบไปด้วยส่วนโรงแรม ร้านค้าปลีก และส่วนห้องชุดพักอาศัยโดยกลุ่ม[[ริทซ์-คาร์ลตัน]] จำนวน 209 ห้อง โดยราคาของห้องชุดดังกล่าว ราคาเฉลี่ย 3.5 แสนบาท/ตร.ม. <ref>{{Cite news|url=http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1447210376 |title=ตึกสูงสุดในไทย "มหานคร" เบียดชนะตึกใบหยก |publisher=[[ประชาชาติธุรกิจ]] |date=2015-11-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20151223160158/https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1447210376 |archive-date=2015-12-23}}</ref> เริ่มต้นที่ 32 ล้านบาทไปจนถึง 305 ล้านบาท ซึ่งถือว่าเป็น 1 ในอาคารชุดพักอาศัยที่มีราคาสูงที่สุดแห่งหนึ่งใน[[กรุงเทพมหานคร]]<ref name="Top 10 most expensive Condominium">{{cite news|last=Condominium |title=คอนโดมิเนียมราคาแพงที่สุด|url= http://www.asangharimmasub.com/reviews/condo-reviews/5-the-top-10-most-expensive-condominium-2012.html|accessdate=1 February 2013 |date=1 February 2013 |work=Asangharimmasab |publisher=Asangharimmasub.}}</ref> โดยในชั้น 74-74–78 จะเปิดเป็นจุดชมวิว SkyWalk ให้คนภายนอกเข้าชม เป็นจุดชมทิวทัศน์ของกรุงเทพมหานครได้ 360 องศา
 
== ประวัติ ==
โครงการมหานครได้เปิดตัวต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการ ณ วันที่ [[23 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2552]] ด้วยการออกแบบร่วมกันของบริษัท เพซ ดีเวลลอปเมนท์ และอินดัสเทรียล บิลดิ้งส์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (IBC)<ref>{{cite press release |last=PACE |title=PACE joins hand the Fishman Group|url= http://www.pacedev.com/press_release/full/pace_development_joins_hands_with_fishman_group_to_announce_mahanakhon_bang|accessdate=27 May 2009|date=27 May 2009|work=PACE|publisher=PACE Development Corporation PLC}}</ref> โดยพิธีวางศิลาฤกษ์มีขึ้นวันที่ [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2554]] และคาดว่ามูลค่าของโครงการนั้นอาจสูงถึง 18,000 ล้านล้านบาท<ref name="มหานครปรับขึ้นราคา 5%">{{cite news|last=PACE |title=มหานครปรับขึ้นราคา 5%|url= http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1360309430&grpid=&catid=no&subcatid=0000|accessdate=7 February 2013 |date=7 February 2013 |work=PACE |publisher=PACE Development Corporation Plc.}}</ref> และได้มีงานเปิดตัวโครงการในวันที่ [[29 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2559]] โดยใช้ชื่องานว่า “มหานคร แบงคอกแบงค็อก ไรซ์ซิ่ง เดอะ ไนท์ ออฟ ไลท์” (MAHANAKHON: BANGKOK RISING, THE NIGHT OF LIGHTS) <ref name="MTHAI">{{cite press release |last=MahaNakhon |title=เริ่มแล้ว! เปิดตัว “ตึกมหานคร” สูงสุดในประเทศไทย |url=http://news.mthai.com/hot-news/general-news/515941.html |accessdate=29 August 2016 |date=29 August 2016 |work=MTHAI |publisher=MTHAI}}</ref>
 
ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 กลุ่มบริษัท[[คิง เพาเวอร์]] ได้เข้าซื้อหุ้นโครงการ 51% จากกลุ่มเพช ดีเวลลอปเม้นท์ โดยซื้อเฉพาะส่วนโรงแรมเอดิชั่น ชั้นชมทัศนียภาพ และส่วนมหานครคิวบ์ โดยยกเว้นส่วนของห้องชุดเพื่อการพักอาศัย<ref>[https://www.prachachat.net/finance/news-142700 “คิงเพาเวอร์”โดดอุ้ม PACE ทุ่ม 1.4 หมื่นล้าน ซื้อ “โปรเจ็กต์มหานคร”]</ref><ref>[https://www.thairath.co.th/content/1253399 ผงาด “คิง เพาเวอร์มหานคร” ทุ่ม 14,000 ล้านซื้อ “มหานคร”]</ref> และต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออาคารเป็น คิง เพาเวอร์ มหานคร ในปัจจุบัน
 
ในวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2562 บริษัท [[ไปรษณีย์ไทย]] จำกัด จำหน่าย ไปรษณีย์บัตรภาพพร้อมส่ง ชุด คิง พาวเวอร์ มหานคร<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/083/T_0008.PDF ''ราชกิจจานุเบกษา''] เลมเล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๘๓ ง., 2 เมษายน ๒๕๖๒2562.</ref>
 
== การออกแบบและจัดสรรพื้นที่ ==
เส้น 50 ⟶ 51:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|20em}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 60 ⟶ 61:
* [http://www.pacedev.com PACE Development Corporation PLC website]
* [http://www.facebook.com/mahanakhonbkk facebook page with ongoing construction updates]
{{break}}
* http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=809916
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
บรรทัด 72:
}}
{{จบกล่อง}}
{{break}}
 
 
{{ตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร}}