ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ไทย–สหรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่าง[[ราชอาณาจักรไทย]]และ[[สหรัฐอเมริกา]]ย้อนหลังไปถึง ค.ศ. 1818 ประเทศไทยและสหรัฐเป็นพันธมิตรที่ใกล้ชิดและผู้ร่วมมือทางการทูตมายาวนาน
 
จากผลสำรวจความคิดเห็นสาธารณะของ[[แกลลัพ (บริษัท)|แกลลัพ]]ประจำปี ค.ศ. 2012 ร้อยละ 60 ของ[[คนไทย]]ถูกใจผู้นำสหรัฐภายใต้[[การบริหารของโอบามา]] กับความไม่พอใจ 14 เปอร์เซนต์ และไม่แน่ใจ 26 เปอร์เซนต์<ref>[http://www.gallup.com/poll/158855/snapshot-leadership-unknown-myanmar.aspx Snapshot: U.S. Leadership Unknown in Myanmar] ''[[Gallup (company)|Gallup]]''</ref> ในปี ค.ศ. 2013 มี[[นักเรียนต่างชาติ]] 7,314 คนที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในสหรัฐ โดยคิดเป็นร้อยละ 0.9 ของชาวต่างชาติทุกคนที่กำลังศึกษาต่อในอเมริกา<ref>[http://www.iie.org/Research-and-Publications/Open-Doors/Data/International-Students/Leading-Places-of-Origin/2011-13 TOP 25 PLACES OF ORIGIN OF INTERNATIONAL STUDENTS] ''[[Institute of International Education]]''</ref> จากผลสำรวจความคิดเห็นทั่วโลกในปี ค.ศ. 2014 พบว่า 73 เปอร์เซนต์ของคนไทยมีมุมมองที่ดีต่อสหรัฐเมื่อเทียบกับ 15 เปอร์เซนต์ที่ไม่ชื่นชอบ<ref>[https://www.pewresearch.org/global/database/indicator/1 Global Indicators Database.]</ref>
 
== ประวัติ ==
=== คริสต์ศตวรรษที่ 19 ===
การติดต่อครั้งแรกระหว่างประเทศไทย (ที่รู้จักกันในชื่อ[[สยาม]]) และสหรัฐ ได้เข้ามาในปี ค.ศ. 1818 เมื่อกัปตันเรือชาวอเมริกันเดินทางมาที่ประเทศนี้ โดยมีจดหมายจากประธานาธิบดี [[เจมส์ มอนโร]] จากสหรัฐ<ref>{{cite book|chapter = Historical Perspective: 1833-1940 | title = A Century and a Half of Thai-American Relations | first = Pensri | last = Duke | editor1-last = Mungkandi | editor1-first = Wigwat | editor2-last = Warren | editor2-first = William | year = 1982 | location = Bangkok | publisher = Chulalongkorn Press}}</ref> ส่วน[[อิน-จัน]] ได้ย้ายถิ่นไปในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1830 ครั้นปี ค.ศ. 1832 ประธานาธิบดี [[แอนดรูว์ แจ็กสัน]] ได้ส่ง[[รัฐทูต]] [[เอดมันด์ โรเบิตส์]] ของเขา ผ่านทาง[[เรือรบสหรัฐพีค็อก (ค.ศ. 1828)|เรือสลุปศึก''พีค็อก'' ของสหรัฐ]] ไปยังราชสำนัก[[จักรพรรดิมิญ หมั่ง|โคชินไชนา]], [[ประวัติศาสตร์กรุงเทพ#รัตนโกสินทร์|สยาม]] และ[[ซาอิด บิน สุลต่าน (สุลต่านแห่งมัสกัตและโอมาน)|มัสกัต]]<ref>{{cite book |last= Roberts|first= Edmund|title= Embassy to the Eastern courts of Cochin-China, Siam, and Muscat in the U. S. sloop-of-war ''Peacock'' during the years 1832-3-4 |url = https://archive.org/details/embassytoeaster00unkngoog |volume=
|date = October 12, 2007 |origyear = 1837|publisher = Harper & Brothers |oclc = 12212199 |page= |pages= 351 pages
|nopp = y |edition= Googlebooks from the collections of [[New York Public Library]] |quote= }}</ref> โรเบิตส์ได้สรุป[[สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์ ค.ศ. 1833|สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์]]เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1833 โดย[[ฐานันดรศักดิ์ไทย#เจ้าพระยา|เจ้าพระยา]][[พระคลัง]]เป็นตัวแทนของกษัตริย์[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระนั่งเกล้า]] ลงนามให้สัตยาบันแลกเปลี่ยนวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1836 และประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1837<ref>{{cite book |last= Malloy |first= William M. |authorlink= |title= Compilation of Treaties in Force |url= | date= March 7, 2008 |origyear= 1904 |publisher= [[Govt. print. off.]] |location= Washington |isbn= |page= 703 |chapter= Siam. |chapterurl= https://photos.state.gov/libraries/thailand/33889/PDFs/treaty1833.pdf |quote= 1833. Convention of amity and commerce. concluded March 30, 1833; ratification advised by the Senate June 30, 1834; ratified by the President; ratifications exchanged April 14, 1836; proclaimed June 24, 1837. (Treaties and conventions, 1889. p. 992.) (The provisions of this treaty were modified by the Treaty of 1856.) |accessdate=April 19, 2012}}</ref> ส่วนแพทย์นาวี [[วิลเลียม รัสเชนเบอร์เกอร์]] ได้มาพร้อมกับภารกิจหวนคืนเพื่อแลกเปลี่ยนสัตยาบัน รายงานของเขา และของนายโรเบิตส์ได้รับการรวบรวม, แก้ไข และเผยแพร่อีกครั้งในฐานะ ''นักการทูตชาวอเมริกันสองคนในสยามยุค 1830'' (''Two Yankee Diplomats In 1830's Siam'')<ref>{{cite book |last= Roberts |first= Edmund |authorlink= Edmund Roberts (diplomat) |first2= W. S. W. (William Samuel Waithman) |last2= Ruschenberger |author2-link= William Ruschenberger|editor-last= Smithies |editor-first= Michael |title= Two Yankee Diplomats In 1830's Siam |url= http://www.worldcat.org/title/two-yankee-diplomats-in-1830s-siam/oclc/52846450&referer=brief_results |accessdate= 26 April 2012 |volume= Volume 10 |series= Itineraria Asiatica |year= 2002 |publisher= Orchid Press |location= Bangkok |isbn= 974-524-004-4 |oclc= 2002455024 |pages= 232 pages|nopp=y|lay-url= http://www.orchidbooks.com/book_reviews/two_yank_dips.html |laydate= 2003}}</ref> วันครบรอบ 150 ปีภารกิจของโรเบิตส์เป็นที่เด่นชัดในปี ค.ศ. 1982 โดยการออกฉบับพิมพ์ครั้งแรกของ ''ความสัมพันธ์ไทย-อเมริกัน ตั้งแต่ พ.ศ. 2376'' (''The Eagle and the Elephant: Thai-American relations since 1833'') ตามด้วยการตีพิมพ์ใหม่หลายครั้งรวมถึงฉบับเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ เมื่อ ค.ศ. 1987 และฉบับกาญจนาภิเษก 50 ปี เมื่อ ค.ศ. 1997<ref>{{cite web|url=http://www.worldcat.org/title/eagle-and-the-elephant-thai-american-relations-since-1833/oclc/19510945/editions?referer=di&editionsView=true|title=Formats and Editions of The Eagle and the elephant : Thai-American relations since 1833 [WorldCat.org]|website=www.worldcat.org}}</ref><ref>{{cite web |url= http://publicdiplomacycouncil.org/commentaries/public-diplomacy-action |title= Public Diplomacy In Action |author= Bill Kiehl |date= November 28, 2010 |format= |work= commentary
|publisher= Public Diplomacy Council |accessdate= May 29, 2012 |archiveurl= https://www.webcitation.org/681Ql9r4q?url=http://publicdiplomacycouncil.org/commentaries/public-diplomacy-action
|archivedate= 2012-05-29|quote= originally produced by [[United States Information Service|USIS]] Thailand with editions in 1982, 1983, 1987 and 1996.}}</ref> สิ่งนี้ได้รับการยืนยันจากอดีตนายกรัฐมนตรี [[สมัคร สุนทรเวช]] ซึ่งในปี ค.ศ. 2008 ได้พบกับจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ใน "การเฉลิมฉลองครบรอบ 175 ปี ความสัมพันธ์ไทย–สหรัฐ"<ref>{{cite web|url=https://georgewbush-whitehouse.archives.gov/news/releases/2008/08/20080806-7.html|title=President Bush Meets with Prime Minister Samak of Thailand|website=georgewbush-whitehouse.archives.gov}}</ref>
 
ประเทศไทยจึงเป็นชาติในเอเชียชาติแรกที่ได้ทำข้อตกลงทางการทูตอย่างเป็นทางการกับสหรัฐ ซึ่งเป็น[[สนธิสัญญาวั่งซ่า|สิบเอ็ดปีก่อน]][[ราชวงศ์ชิง|ต้าชิง]] และ[[สนธิสัญญาคานางาวะ|ยี่สิบเอ็ดปี]]ก่อน[[รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ|โทกูงาวะญี่ปุ่น]] ส่วนในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1856 [[ทาวน์เซนด์ แฮร์ริส#สนธิสัญญาแฮร์ริสกับสยาม พ.ศ. 2399|ทาวน์เซนด์ แฮร์ริส]] ตัวแทนของประธานาธิบดี [[แฟรงกลิน เพียร์ซ]] ได้เจรจาขอแก้ไช''สนธิสัญญาทางไมตรี พาณิชย์ และการเดินเรือ'' กับผู้แทนของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่สี่) ที่ให้[[สิทธิสภาพนอกอาณาเขต]]เพิ่มเติมแก่ชาวอเมริกัน ซึ่งสตีเฟน แมตตทูน มิชชันนารีชาวอเมริกันผู้ทำหน้าที่เป็นล่ามแปลภาษาของแฮร์ริส ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น[[กงสุล]]สหรัฐคนแรกประจำสยาม<ref>{{cite web |url= http://thailand-usa.com/history/history-diplomacy-relations-between-thailand-siam-united-states-of-america |title= History of Diplomatic relations between the Kingdom of Thailand (Siam) and United States of America |date= April 19, 2012 |work= Thai American Diplomacy History |publisher= Thailand-USA Portal and Hub |accessdate= April 19, 2012 |archiveurl= https://web.archive.org/web/20100212104055/http://thailand-usa.com/history/history-diplomacy-relations-between-thailand-siam-united-states-of-america/ |archivedate= 2010-02-12
บรรทัด 27:
 
[[ไฟล์:SHBoyd.jpg|thumb|150px|[[เซมโพรนิอุส เอช. บอยด์]] [[เอกอัครราชทูตสหรัฐประจำประเทศไทย|อัครราชทูตประจำ/กงสุลใหญ่]]ประจำ[[สยาม]]คนที่สาม]]
 
เนื่องในโอกาสครบรอบ 150 ปีของความสัมพันธ์ มีการเปิดเผยว่าประธานาธิบดี แอนดรูว์ แจ็กสัน ได้ถวายดาบทองคำรูปช้างและนกอินทรีด้ามทองแด่พระมหากษัตริย์ (ซึ่งต่อมาเป็นที่รู้จักในฐานะพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว)<ref>{{cite book |last= Phongphiphat |first= Wimon (Bhongbhibhat, Vimol) |first2 = Bruce |last2= Reynolds |first3 =Sukhon |last3 = Polpatpicharn |title= The Eagle and the Elephant. 150 Years of Thai-American Relations |trans-title=พื้นความหลังไทย-เมริกัน 150 ปี
|year= 1987 |orig-year= 1982 |publisher= United Production |location= Bangkok |oclc= 19510945 |pages= 150}}</ref> พระองค์ยังได้รับการเสนอ[[พรูฟเซต]]เหรียญอเมริกัน ซึ่งรวมถึง [[1804 ดอลลาร์]] "คิงออฟสยาม" ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1834
 
== อ้างอิง ==