ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเรอหวั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
|iso1=|iso2=|iso3= raw
}}
'''ภาษาเรอหวั่ง''' (Rawang language) หรือ'''ภาษากนุง-เรอหวั่ง'''มีผู้พูดทั้งหมด 122,600 คน ชนเผ่าเรอหวั่งเป็นชนกลุ่มน้อย จึงไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก. ในปัจจุบันอาศัยอยู่กระจัดกระจายในแต่ละประเทศ ซึ่งบรรพบุรุษมาจากทางตะวันออกกลางและอพยพลงมาเรื่อยๆ พบมากที่สุดใน[[พม่า]] 62,100 คน (พ.ศ. 2543) ใน[[รัฐคะฉิ่น]] ทางเหนือของ[[มยิตจีนา]] และชาวระหว่างส่วนมากในพม่าจะอาศัยอยู่ที่ [[เมืองพูตาโอ]] ทางเหนือสุดของพม่า ที่ทีภูเขาหิมะที่เป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจและเป็นสัญลักษณ์ของชาวรหว่าวเรอหวั่ง พบใน[[อินเดีย]] 60,500 คน (พ.ศ. 2543) ใน[[รัฐอรุณาจัลประเทศ]]ใกล้กับชายแดนพม่า และชายแดนจีนด้านที่ติดกับทิเบต พบใน[[ประเทศจีน]] มณฑลยุนนาน เมืองกงชาง [[5,000]] พบใน[[ประเทศไทย]]ในภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ และ กรุงเทพมหานคร ประมาณ[[1,000]] คน ซึ่งในประเทศไทยกลุ่มเรอหวั่งยังไม่เป็นที่รู้จักเนื่องจากมีน้อยมาก และยังอยู่กระจัดกระจายในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นอเวย์ สวีเดน แคนาดา เดนมาร์ค นิวซีแลนด์ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขานุง ผู้พูดภาษานี้ในพม่าพูด[[ภาษาพม่า]] [[ภาษาลีซู]]หรือ[[ภาษาจิ่งเผาะ]]ได้ด้วย เขียนด้วย[[อักษรละติน]] มีหนังสือพิมพ์ตีพิมพ์ด้วยภาษานี้ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา
 
ภาษาเรอหวั่งแบ่งออกเป็น 4 สำเนียง ได้แก่ มัดหว่าง, หลุ่งมี, ดั่งสั่ล, ดะหรู่