ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Archker (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9342849 สร้างโดย Archker (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ย้อนการแก้ไขที่ 9342921 สร้างโดย Archker (พูดคุย)
บรรทัด 8:
| birth_date = {{วันเกิด|2477|6|11}}<br />[[ตาลงส์]], [[แคว้นกีรงด์]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2561|2|13|2477|6|11}}<br>[[โคเปนเฮเกน]] [[เดนมาร์ก]]
|birth_style = พระราชสมภพประสุูติ
|death_style = สิ้นพระชนม์
| father1 =[[เคานต์]][[อังเดร เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา]]
| mother1 = [[เรอเน ดูร์เซโน]]
| spouse-type =พระอัครมเหสีพระชายา
| spouse = [[สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก]]
| issue1 = [[เจ้าฟ้าเจ้าชายเฟรเดริคเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก]]<br>[[เจ้าฟ้าเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก]]
| dynasty = [[ราชวงศ์ชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก|กลึคสบวร์ก]]<br />[[ราชวงศ์ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา|ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา]]
| signature =
เส้น 19 ⟶ 20:
}}
 
'''เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00014447.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่พระราชวงศ์เดนมาร์ก]. [[ราชกิจจานุเบกษา]]</ref> ใน[[สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก]]''' (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; [[11 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2477]] - [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2561]]) [[รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก|สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก]] พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ [[สาธารณรัฐประเทศฝรั่งเศส]] เป็นโอรสใน[[เคาต์]][[อังเดร เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา]] และ [[เรอเน ดูร์เซโน]] อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ [[10 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1967]] ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็น[[ทายาทโดยสันนิษฐาน]]แห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก
 
== ต้นพระชนม์ชีพ ==
[[ไฟล์:Henrik, Prince Consort of Denmark (1934-35).jpg|154px|thumb|left|เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในปี 2477]]
เจ้าชายเฮนริกเสด็จพระราชสมภพประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ [[สาธารณรัฐประเทศฝรั่งเศส]] พระองค์เป็นโอรสในเคาต์[[อังเดร เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา]] กับ [[เรอเน ดูร์เซโน]] พระองค์ทรงเข้ารีต[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]]
 
พระองค์ทรงใช้ชีวิตช่วงต้น 5 ปีใน[[อินโดจีนของฝรั่งเศส]]ซึ่งขณะนี้คือ[[ประเทศเวียดนาม]]ที่ซึ่งพระบิดาของพระองค์ถูกกล่าวหาเกี่ยวกับผลประโยชน์ทางธุรกิจ ทรงกลับมายัง[[ฮานอย]]ในปี พ.ศ. 2493 ทรงศึกษาที่นั่นที่โรงเรียนมัธยมศึกษาของฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2495 ในระหว่างปี พ.ศ. 2495 ถึง พ.ศ. 2500 พระองค์ทรงศึกษาด้านกฎหมายและรัฐศาสตร์พร้อมกันที่[[มหาวิทยาลัยปารีส]]ในกรุง[[ปารีส]]และศึกษาภาษาจีนและเวียดนามที่ แองสติตู นาซิองนาล เด ล้องก์ เอ ซิวิซาซิอง ออคเคียงตาล (Institut national des langues et civilisations orientales) พระองค์ยังทรงศึกษาที่[[ฮ่องกง]]ในปี พ.ศ. 2500 และ[[ไซ่ง่อน]]ในปี พ.ศ. 2501
เส้น 30 ⟶ 31:
 
== อภิเษกสมรส ==
ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 พระองค์อภิเษกสมรสกับ[[สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก|เจ้าหญิงมาร์เกรเธอ]] ผู้เป็นรัชทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก ที่โบสถ์แห่ง[[โคเปนเฮเกน]] พระนามของพระองค์จึงต้องเปลี่ยนเป็นภาษาเดนมาร์กคือ เฮนริก
=== ความสนพระราชหฤทัย ===
เช่นเดียวกับพระมเหสีพระชายา พระองค์ ทรงสนพระราชหฤทัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมอย่างมาก ทรงเป็นคนที่รักตัวเลขไม้และหยก ทรงสร้างคอลเลกชันที่ทรงแสดงในปี 2560 ในพิพิธภัณฑ์คอดิงฮูลด์ แต่ถึงอย่านั้ พระองค์ไม่ประสบความสำเร็จในการเล่นเปียโน ในปี พ.ศ. 2556 ทรงร่วมกับวงดนตรีป๊อปไมเคิล เรเนส โดยทรงบันถึงบันทึกเพลง "Echo" และบทเพลงนี้พระองค์ได้มีพระราชประสงค์ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] แห่ง[[ราชอาณาจักรไทย]]
 
พระองค์ทรงเขียนบทกวีหลายภาษาพื้นเมืองของพระองค์เป็นภาษา (ฝรั่งเศส) บางส่วนที่ได้รับการเผยแพร่ในคอลเลกชัน เชอร์มิน เฟสตัน (1982), Cantabile (2000), Les escargots de Marie Lanceline (2003), Murmures de vent (2005), Frihjul ( Roue-Libre , 2010), Fabula (2011), La part des Anges (2013) และDans mes nuits sereines (2014) The Symphonic Suite Cantabileโดย เฟรเดอริก ไมเกล พระราชนิพนธ์ของพระองค์ได้รับรางวัลจาก [[เดนิส นอชัน ซิมโพนี ออร์เคสตรา]] ในคอนเสิร์ตทั้ง 2 ครั้ง ในโอกาสเฉลิมพระชนมายุ 70 พรรษา และ 75 พรรษา ของ พระองค์ ในปี 2547 และ 255 พระองค์ทรงแปลบทพระราชนิพนธ์ (แปลจากภาษาเดนมาร์ก ) ว่า "ฉันเขียนบทกวี มีทั้งข้อเสียและข้อดี แสดงความจริงด้วยข่าวและความบันเทิงที่ทำให้เรามีเหตุผลและความกระวนกระวาย บทกวีของเรานั้นจะพยายามเข้าใกล้ธรรมชาติที่แท้จริงของโลก ในบทกวีที่เราสามารถเข้าถึงคำถามนิรันดร์เช่นความรักความเหงาและความตาย "
เส้น 49 ⟶ 50:
 
== เจ้าชายพระราชสวามีแห่งเดนมาร์ก ==
เมื่อทรงได้พระอิสริยยศเป็นเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก ซึ่งก่อนการอภิเษกสมรสพระองค์ทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกาย[[โปรเตสแตนต์]]จากการอนุญาตของ[[สันตะสำนัก]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2515]] [[สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก]] พระราชบิดาในพระมเหสีพระชายาของพระองค์ เสด็จสวรรคต พระมเหสีจึงเสด็จครองราชย์เป็น '''สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก''' พระองค์จึงได้รับการสถาปนาที่ '''เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี'''
[[ไฟล์:Prince consort Henrik.JPG|188px|thumb|left|เจ้าชายเฮนริก พระราชสวามี ฉลองพระองค์เต็มพระราชอิสริยยศทหาร ในฐานะรองผู้บังคับบัญชาการทหารแห่งเดนมาร์ก (ผู้บังคับบัญชาการทหารสูงสุดคือ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2)]]
 
== พระราชโอรส ==
สมเด็จพระราชินีนาถและเจ้าฟ้าเจ้าชายมีพระโอรส 2 พระองค์ดังนี้
*# [[เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก]]
*# [[เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก]]
 
ภาษาของเจ้าชายเฮนริกคือภาษาฝรั่งเศส ทำให้พระองค์ต้องเรียนรู้ภาษาเดนมาร์กหลังการอภิเษกสมรส แต่พระองค์สามารถพูดภาษาจีน เวียดนาม อังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว
เส้น 61 ⟶ 62:
ในปี พ.ศ. 2549 นิตยสารของเดนมาร์กชื่อ Ud&Se ได้ลงบทสัมภาษณ์ของเจ้าชายเฮนริก ที่ซึ่งทรงเล่าเกี่ยวกับสุนัขทรงเลี้ยง อาหาร พระชนม์ชีพวัยเยาว์ในเวียดนามและเรื่องราวต่าง ๆ มากมาย บางครั้งพระองค์ทรงกล่าวถึงการเคยเสวยเนื้อสุนัขที่นั่น ทำให้หนังสือพิมพ์ต่าง ๆ พาดหัวข่าวไว้ว่า "เจ้าชายเฮนริกเสวยสุนัข" และทำให้การบริโภคเนื้อสุนัขเป็นที่นิยม{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== พระราชกรณียกิจกรณียกิจ==
* พ.ศ. 2522 เสด็จพระราชดำเนินเยือน [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] โดยทรงเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท [[สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์]] และยังทรงพบ [[สมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์|เจ้าชายรัชทายาทวิลเลิม]] อีกทั้งยังทรงประทานพระราชทานพระราชวโรกาสให้ [[เจ้าชายคอนสตันตินแห่งเนเธอร์แลนด์]] [[เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา]] [[เจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์]] เฝ้าทูลละอองพระบาท ณ พระราชวังหลวงเฮก ในการนี้ [[เจ้าหญิงคริสตีนาแห่งเนเธอร์แลนด์]] ทรงนำเจ้าชายเฮนริก พระราชสวามีแห่งเดนมาร์ก เยือนสถานที่สำคัญของประเทศ และในเย็นวันนั้น ทรงมีการเลี้ยงพระกระยาหารค่ำเป็นการส่วนพระองค์ระหว่างเจ้าชายพระราชสวามีแห่งเดนมาร์ก และพระบรมวงศานุวงศ์ของเนเธอร์แลนด์
* พ.ศ. 2532 เสด็จพระราชดำเนินเยือน [[สหราชอาณาจักร]] [[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร]] เสด็จพระราชดำเนินทรงรับเจ้าชายเฮนริกถึงสนามบินลอนดอน และประทับรถยนต์พระที่นั้งถึง [[พระราชวังบักกิงแฮม]] โดยมี [[เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ]] เฝ้ารับเสด็จ และ [[เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์]] [[ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์]] [[เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์]] [[เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์]] [[เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก]] [[ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก]] [[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี]] [[เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์]] [[เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์]] [[แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์]] และพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์อังกฤษ เฝ้าทูลละอองพระบาทรับเสด็จ จากนั้น [[เจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์]] และ [[บริจิตต์ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์]] ทรงพาเจ้าชายพระราชสวามีแห่งเดนมาร์ก เยีย่มชมความงามในพระราชวัง โดยเจ้าชายพระราชสวามีแห่งเดนมาร์ก ทรงมีความสนิทสนมกับดัชเชสแห่งกลอสเตอร์มาก เนื่องด้วยดัชเชสทรงเป็นคนเดนมาร์ก
* พ.ศ. 2536 เสด็จพระราชดำเนินเยือน [[เคนยา]] [[โมร็อกโก]] ซึ่งเป็นการเสด็จพระราชดำเนินเป็นกานส่วนพระองค์ในการแปรพระราชฐาน เจ้าชายเฮนริก พระราชสวามี ทรงประทับในเคนยาเพียง 16 ชั่วโมง เนื่องจากพระอาการป่วยทรงดำเริบ ทางข้าราชบริพารจึงกราบบังคบทูลให้เสด็จพระราชดำเนินเยือนโมร็อกโกทันที เนื่องจากนวัตกรรมทางการแพทย์เจริญแล้วในแถวแอฟริกา เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงแล้ว ความทราบถึงฝ่าละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระราขินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 ทรงมีพระราชดำรัสด้วยความห่วงใยในพระราสวามี ทรงมีพระราชดำรัสให้เจ้าชายเฮนริก พระราชสวามีเสด็จพระราชดำเนินกลับเดนมาร์กในวันรุ่งขึ้น เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงเดนมาร์กแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์เดนมาร์กเสด็จพระราชดำเนิน/เสด็จไปทรงเยี่ยมพระอาการเจ้าชายพระราชสวามีทันที ซึ่ง [[เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก]] ปฏิบัติพระราชกรณียากิจใน[[ออสเตรเลีย]] ก็ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับอย่างกระทันหันทันที ในขณะที่ [[เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก]]กำลังปฏิบัติพระกรณียากิจใน[[นอร์เวย์]] ก็เสด็จกลับทันทีเช่นกัน
* [[พ.ศ. 2542]] เสด็จพระราชดำเนินเยือน [[ราชอาณาจักรประเทศไทย]] เป็นการส่วนพระองค์ โดยทอดพระเนตรอุทยานแห่งชาติห้วยขาแข้ง โดยทรงมีพระราชดำรัสชมอุทยานแห่งนี้ว่า '''นี่มันสวยงามจริง ๆ สวยจนมิน่าเชื่อเลย'''
* [[พ.ศ. 2549]] [[สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เสด็จพระราชดำเนินเสด็จฯแทนพระองค์มายังราชอาณาจักรไทย เพื่อเข้าร่วม [[พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี]] ของ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
* พ.ศ. 2556 เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี เสด็จพระราชดำเนินเยือน[[ฝรั่งเศส]] ซึ่งเป็นสถานที่เสด็จพระราชสมภพของพระองค์ ทรงแปรพระราชฐานอีกครั้งเป็นเวลา 2 เดือน พระราชโอรส พระราชนัดดา พระสุณิษา เสด็จพระราชดำเนิน/เสด็จมาเยี่ยมเป็นครั้งคราว ในขณะที่สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 พระมเหสีนั้น เสด็จพระราชดำเนินมาประทับกับพระราชสวามีถึง 2 อาทิตย์
* พ.ศ. 2557
**เสด็จพระราชดำเนินเยือน[[อุรุกวัย]] ซึ่งถือเป็นครั้งแรกของสมาชิกพระราชวงศ์เดนมาร์ก ที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนอุรุกวัย ทรงทอดพระเนตรการดำเนินงานคืนช้างสู่ป่า ซึ่งเป็นโครงการเดียวกับที่ประเทศไทย ทรงพระราชทานชื่อช้างเชือกหนึ่ง นามว่า '''เบทอล''' โดยทรงให้เหตุผลว่า เป็นชื่อของพระสหายสนิทท่านหนึ่งในโรงเรียนประถม จากนั้นทอดพระเนตรการแสดงของชนพื้นเมืองที่ทำการแสดงถวาย หลังจากนั้น เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรนิทรรศกาลของอุรุกวัย และเสด็จพระราชดำเนินกลับในอีก 3 วัน ถัดมา
เส้น 77 ⟶ 78:
สำนักพระราชวังของเดนมาร์กได้แถลงการณ์เรื่อง เจ้าชายเฮนริค พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธ่ที่ 2 เสด็จพระราชดำเนินไปประทับรักษาพระอาการประชวร ณ โรงพยาบาลรีย์ส มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน โดยคณะแพทย์ได้รายงานว่า ทรงมีการตอบสนองลดลง อีกทั้งมีการเปลี่ยนแปลงทางพระราชจริยาวัตร (พฤติกรรม) ด้านการตัดสินพระราชหฤทัย และพระราชปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบพระองค์ คณะแพทย์จึงได้ว่า ทรงประชวรด้วยโรคพระสมองเสื่อม จึงได้กราบบังคมทูลเชิญให้งดพระราชกรณียกิจลง อีกทั้งจะมีการพิจารณาการดำเนินงานขององค์กรต่าง ๆ ในพระราชูปถัมภ์
 
== สิ้นพระชนม์ ==
== สวรรคต ==
สำนักพระราชวังของเดนมาร์ก ได้ออกแถลงการณ์อย่างเป็นทางการว่า เจ้าชายเฮนริก เสด็จสวรรคตนริกสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 23.18 น. ณ พระราชวังเฟรเดนส์โบร์ก เมืองเฟรเดนส์โบร์ก สิริพระชนมายุ 83 พรรษา โดยก่อนหน้านี้สำนักพระราชวังได้ออกแถลงการณ์ว่าทรงมีพระราชประสงค์ไม่ฝังพระบรมศพกับพระมเหสีซึ่งเกิดจากความน้อยพระราชหฤทัยที่ไม่ได้รับการถวายพระเกียรติที่เหมาะสม และมีพระราชประสงค์ให้จัดงานส่วนพระองค์ซึ่งในงานนั้นไม่มีพระราชอาคันตุกะจากต่างประเทศเสด็จพระราชดำเนิน เสด็จ หรือเดินทางร่วมงานเลย
 
== พระราชอิสริยยศ ==