ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุควสันตสารท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎กำเนิดยุควสันตสารท: แก้ไขไวยากรณ์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 23:
 
== กำเนิดยุควสันตสารท ==
[[ราชวงศ์โจว]]ปกครองด้วยกษัตริย์อย่างเข้มแข็งมากว่า 11 องค์ จนกระทั่งถึงรัชกาลของ[[พระเจ้าโจวอิวหวางโยว]] (รัชกาลที่ 12) อำนาจของราชวงศ์โจวก็เริ่มเสื่อมถอย เพราะพระเจ้าโจวโยวมัวแต่หมกมุ่นกับ[[สุรา]]และ[[ผู้หญิง|นารี]] จนกระทั่งถูกข้าศึกจับกุมตัวไป
 
รัชกาลที่ 12 อำนาจของราชวงศ์โจวก็เริ่มเสื่อมถอย เพราะโจวอิวหวางมัวแต่หมกมุ่นกับ[[สุรา]]และ[[ผู้หญิง|นารี]] จนกระทั่งถูกข้าศึกจับกุมตัวไป 7 ปีต่อมา กองทัพผสมของอ๋องต่าง ๆ ในแต่ละ[[รัฐ]]ได้รวมตัวกันขับไล่ข้าศึกออกไป และอัญเชิญโอรสของโจวอิวหวางขึ้นครองราชย์ มีพระนามว่า [[พระเจ้าโจวผิงหวาง ]] ได้มีการย้าย[[เมืองหลวง]]จากเมืองเฮ่าจิง มาอยู่ที่ลกเอี๋ยง ([[ลั่วหยาง]] ในปัจจุบัน) ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ยุคนี้ต่อมานักประวัติศาสตร์จึงได้เรียกว่า '''ยุคราชวงศ์โจวตะวันออก''' (Eastern Zhou) หรือ '''ยุควสันตสารท''' นั่นเอง (ที่เรียกว่า วสันตสารท ที่หมายถึง ฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วงนั้นมาจากชื่อคัมภีร์ของขงจื๊อที่บันทึกเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ในยุคนี้ ที่ชื่อ '''บันทึกแห่งฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง''' หรือ วสันตสารท ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของขงจื๊อด้วย ผู้คนจึงเรียกชื่อยุคนี้ตามคัมภีร์ และคัมภีร์เล่มนี้ก็นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วสันตสารท เช่นกัน โดยใช้คำว่า วสันตสารท เป็นการเปรียบเปรยเหมือนกับนครรัฐต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและดับไปเหมือนดั่งใบไม้ในช่วง[[ฤดูใบไม้ผลิ]]และ[[ฤดูใบไม้ร่วง]]<ref>หน้า 3, ''หมุดนั้น สำคัญฉะนี้''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21646: วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2560 ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา</ref>) ซึ่งยุคนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ยุคใหญ่ต่อเนื่องกัน ๆ คือ
 
* ยุควสันตสารท (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 453 ปีก่อนคริสต์ศักราช)