ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กอลไจแอปพาราตัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Organelle diagram}}
[[ไฟล์:Human leukocyte, showing golgi - TEM.jpg|thumb|350px|[[Micrograph|ไมโครกราฟ]]แสดงกอลไจแอปพาราตัส ซึ่งมองเห็นเป็นชั้นของวงครึ่งวงกลมสีดำใกล้กับด้านล่างของภาพ]]
'''กอลไจแอปพาราตัส'''<ref>ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน อังกฤษ-ไทย [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] จาก[https://dict.longdo.com/search/Golgi/pc]</ref> ({{lang-en|Golgi apparatus}}; <small>หรือทับศัพท์เป็น กอลจิแอพพาราตัส, กอลจิแอพพาราตัส</small>) หรือ '''กอลไจคอมเพล็กซ์''' ({{lang-en|Golgi complex}}; <small>หรือทับศัพท์เป็น กอลจิคอมเพล็กซ์</small>), '''กอลไจบอดี''' ({{lang-en|Golgi body}}; <small>หรือทับศัพท์เป็นกอลจิบอดี</small>) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า '''กอลไจ''' ({{lang-en|Golgi}}; <small>หรือทับศัพท์เป็น กอลจิ</small>)<ref [[ออร์แกเนลล์]]ที่พบใน[[เซลล์]][[eukaryotic|ยูคารีโอต]]ส่วนใหญ่<ref name="isbn3-211-76309-0">{{cite book|title=The Golgi Apparatus: State of the art 110 years after Camillo Golgi's discovery|vauthors=Pavelk M, Mironov AA|publisher=Springer|year=2008|isbn=978-3-211-76310-0|location=Berlin|page=580|doi=10.1007/978-3-211-76310-0_34|chapter=Golgi apparatus inheritance}}</ref> กอลไจนั้นถือเป็นส่วนหนึ่งของ[[endomembrane system|ระบบเอนโดเมมเบรน]] (endomembrane system) ใน[[ไซโทพลาสซึม]] มีหน้าที่ในการ[[protein targeting|บรรจุโปรตีน]]เป็น[[Vesicle (biology and chemistry)|เวซิเคิล]][[membrane-bound|มีเยื่อหุ้ม]]ภายในเซลล์ก่อนที่เวซิเคิลจะถูกส่งไปยังจุดหมายปลายทาง กอลไจมีความสำคัญเป็นพิเศษในการจัดการ[[โปรตีน]]สำหรับ[[secretion|การหลั่ง]] ภายในประกอบด้วยชุดของ[[เอนไซม์]]สำหรับการ[[glycosylation|ไกลโคซีเลชั่น]] (glycosylation) ซึ่งจะเติมมอนอเมอร์น้ำตาลต่าง ๆ ไปติดบนโปรตีนต่างๆ ที่เคลื่อนที่ผ่านโครงสร้างของกอลไจ กอลไจมีการนิยามขึ้นครั้งแรกในปี 1897 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี [[Camillo Golgi|กามีลโล กอลจี]] (Camillo Golgi) และได้รับการตั้งชื่อตามกอลจี (Golgi) ในปี 1898<ref name="pmid9865849">{{cite journal|vauthors=Fabene PF, Bentivoglio M|date=October 1998|title=1898-1998: Camillo Golgi and "the Golgi": one hundred years of terminological clones|journal=Brain Research Bulletin|volume=47|issue=3|pages=195–8|doi=10.1016/S0361-9230(98)00079-3|pmid=9865849}}</ref>
 
==อ้างอิง==