ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วูดโรว์ วิลสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 57:
}}
 
'''โทมัส วูดโรว์ วิลสัน''' ({{lang-en|Thomas Woodrow Wilson}}) เป็นรัฐบุรุษ นักกฏหมาย และนักวิชาการชาวอเมริกันที่ได้ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐ คนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปีระหว่าง ค.ศ. 1913 ถึง ค.ศ. 1921 สมาชิกสังกัด[[พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)|พรรคเดโมแครต]] วิลสันได้ดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีแห่ง[[มหาวิทยาลัยพรินซตัน]] และเป็นผู้ว่าการรัฐนิวเจอร์ซีย์คนที่ 34 ก่อนที่จะเอาชนะในการเลือกตั้งเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ปีใน ค.ศ. 1912 ในขณะที่เป็นประธานาธิบดีดำรงตำแหน่ง เขาได้ตรวจสอบกระบวนการความก้าวหน้าของนโยบายทางนิติบัญญัติที่หาตัวจับได้ยากจนกระทั่งโครงการ[[สัญญาใหม่]]ในปี ค.ศ. 1933 เขายังได้เป็นผู้นำสหรัฐอเมริกาพาประเทศเข้าสู่[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ในปี ค.ศ. 1917 มีการก่อตั้งกลุ่มเคลื่อนไหวในนโยบายต่างประเทศที่เป็นที่รู้จักกันคือชื่อ "พวกนักลัทธิวิลสัน"
 
เขาเกิดในสทอนตัน รัฐเวอร์จิเนีย วิลสันได้และใช้ชีวิตช่วงปีแรกๆปฐมวัยในออกัสตา [[รัฐจอร์เจีย]] และโคลัมเบีย [[รัฐเซาท์แคโรไลนา]] ภายหลังจากได้จบสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขารัฐศาสตร์จาก[[มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์]](วิลสันเป็นอธิการบดีเพียงคนเดียวที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก) วิลสันได้ประกอบอาชีพสอนที่โรงเรียนต่างๆต่าง ๆ ก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งเป็นอธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยพรินซตัน ในช่วงที่เป็นขณะดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐนิวเจอร์ซีย์ ตั้งแต่ปีระหว่าง ค.ศ. 1911 ถึง ค.ศ. 1913 วิลสันแตกหักกับหัวหน้าพรรคและเอาชนะกระบวนการการปฏิรูปก้าวหน้าหลายครั้ง ด้วยประสบความสำเร็จของเขาในรัฐนิวเจอร์ซียทำให้เขาได้มีชื่อเสียงระดับชาติในฐานะนักปฏิรูปที่หัวก้าวหน้า และเขาได้รับชัยชนะในการเสนอชื่อลงสมัครเลืองตั้งรับเลือกตั้งประธานาธิบดีที่งานการประชุมพรรคเดโมแครตแห่งชาติ ปี ค.ศ. 1912 วิลสันได้เอาชนะประธานาธิบดี[[วิลเลียม ฮาวเวิร์ด แทฟต์]] จากพรรคริพับลิกันในขณะนั้น และผู้ท้าชิงตำแหน่งรับสมัครอีกคนจากพรรคก้าวหน้าคือ [[ธีโอดอร์ โรสเวลต์]] ที่ชนะในการเลือกตั้งเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ปี ค.ศ. 1912 จนกลายเป็นชาวภาคใต้คนแรกที่ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีนับตั้งแต่สมัย[[สงครามกลางเมืองอเมริกา]]
 
ในช่วงวาระแรก วิลสันได้เป็นประธานในกระบวนการของเสรีภาพใหม่ที่ก้าวหน้าของเขาในที่ประชุมภายในประเทศ สิ่งที่สำคัญอันดับแรกของเขาคือกระบวนการของกฏหมายภาษีอากร ปี ค.ศ. 1913 ซึ่งได้ลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและดำเนินการภาษีรายได้ของรัฐบาลกลาง ต่อมากฏหมายภาษีซึ่งดำเนินการในการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาลกลาง และเพิ่มอัตราภาษีรายได้สูงสุดถึงร้อยละ 77 เปอร์เซ็นต์ วิลสันยังเป็นประธานของกระบวนการของกฏหมายเงินสำรองของรัฐบาลกลาง ซึ่งได้ก่อตั้งระบบธนาคารกลางในรูปแบบระบบเงินสำรองของรัฐบาลกลาง สองกฎหมายที่สำคัญคือ กฏหมายคณะกรรมมาธิการการค้าและกฏหมายป้องกันการผูกขาดเครย์ตัน(Clayton Antitrust Act) เป็นกระบวนการในวางระเบียบบังคับและแบ่งแยกผลประโยชน์ทางธุรกิจขนาดใหญ่ที่เรียกกันว่า "ความน่าเชื่อถือ"(Trust) ด้วยความผิดหวังของผู้สนับสนุนชาวอเมริกัน-แอฟริกันที่มีต่อเขา วิลสันได้อนุญาตให้บางคนในสมาชิกคณะรัฐมนตรีของเขาให้ทำการแบ่งแยกเชื้อชาติออกจากกันในแผนกของพวกเขา เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ได้แพร่ลุกลามในปี ค.ศ. 1914 วิลสันยังคงถือนโยบายวางตัวเป็นกลางระหว่าง[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]-[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]] เขาได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งใหม่โดยเฉียดฉิวในการเลือกตั้งเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ปี ค.ศ. 1916 เอาชนะกับผู้ท้าชิงจากพรรคริพันลิกัน Charles Evans Hughes