ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วูดโรว์ วิลสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63:
ในช่วงวาระแรก วิลสันได้เป็นประธานในกระบวนการของเสรีภาพใหม่ที่ก้าวหน้าของเขาในที่ประชุมภายในประเทศ สิ่งที่สำคัญอันดับแรกของเขาคือกระบวนการของกฏหมายภาษีอากร ปี ค.ศ. 1913 ซึ่งได้ลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและดำเนินการภาษีรายได้ของรัฐบาลกลาง ต่อมากฏหมายภาษีซึ่งดำเนินการในการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาลกลาง และเพิ่มอัตราภาษีรายได้สูงสุดถึงร้อยละ 77 เปอร์เซ็นต์ วิลสันยังเป็นประธานของกระบวนการของกฏหมายเงินสำรองของรัฐบาลกลาง ซึ่งได้ก่อตั้งระบบธนาคารกลางในรูปแบบระบบเงินสำรองของรัฐบาลกลาง สองกฎหมายที่สำคัญคือ กฏหมายคณะกรรมมาธิการการค้าและกฏหมายป้องกันการผูกขาดเครย์ตัน(Clayton Antitrust Act) เป็นกระบวนการในวางระเบียบบังคับและแบ่งแยกผลประโยชน์ทางธุรกิจขนาดใหญ่ที่เรียกกันว่า "ความน่าเชื่อถือ"(Trust) ด้วยความผิดหวังของผู้สนับสนุนชาวอเมริกัน-แอฟริกันที่มีต่อเขา วิลสันได้อนุญาตให้บางคนในสมาชิกคณะรัฐมนตรีของเขาให้ทำการแบ่งแยกเชื้อชาติออกจากกันในแผนกของพวกเขา เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ได้แพร่ลุกลามในปี ค.ศ. 1914 วิลสันยังคงถือนโยบายวางตัวเป็นกลางระหว่าง[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]-[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]] เขาได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งใหม่โดยเฉียดฉิวในการเลือกตั้งเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ปี ค.ศ. 1916 เอาชนะกับผู้ท้าชิงจากพรรคริพันลิกัน Charles Evans Hughes
 
ในต้นปี ค.ศ. 1917 วิลสันได้ถามต่อสภาคองเกรสสำหรับการประกาศสงครามต่อเยอรมนี ภายหลังจากที่เยอรมนีดำเนินนโยบายการสงครามเรือดำน้ำแบบไร้ขีดจำกัด และสภาคองเกรสได้ตอบรับในที่สุด วิลสันได้มีอำนาจในการระดมกองทัพในช่วงสงคราม แต่ก็ได้ทุ่มเทความพยายามของเขาในนโยบายการต่างประเทศ ได้คิดริเริ่ม[[หลักการสิบสี่ข้อ]]เป็นพื้นฐานสำหรับสันติภาพในช่วงหลังสงคราม ภายหลังจากเยอรมนีได้ลงนาม[[การสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918|สงบศึก]]ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 วิลสันและผู้นำฝ่ายพันธมิตรคนอื่นๆได้เข้าร่วม[[การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919]] ที่วิลสันได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศที่เป็นที่รู้จักกันคือ [[สันนิบาตชาติ]] สันนิบาติชาติได้จัดทำ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]และสนธิสัญญาฉบับอื่นๆในเรียกร้องรับผิดชอบสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางที่เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ แต่วิลสันไม่สามารถโน้มน้าววุฒิสภาให้สัตยาบันแก่สนธิสัญญาฉบับนี้หรือยินยอมให้สหรัฐเข้าร่วมสันนิบาตชาติ วิลสันได้ป่วยเป็นโรคเส้นเลือดสมองตีบอย่างรุนแรงในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1919 และไม่สามารถที่จะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้อีกต่อไป เขาจึงลาออกในปี ค.ศ. 1921 และถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1924 นักวิชาการส่วนใหญ่ได้ให้อันดับแก่วิลสันว่าเป็นหนึ่งในประธานาธิบดีแห่งสหรัฐที่ดีกว่าค่าเฉลี่ย<ref>Arthur M. Schlesinger, Jr., "Rating the Presidents: From Washington to Clinton". ''Political Science Quarterly'' (1997). 112#2: 179–90.</ref><ref name="jschuessler1">{{cite news|last1=Schuessler|first1=Jennifer|title=Woodrow Wilson's Legacy Gets Complicated|url=https://www.nytimes.com/2015/11/30/arts/woodrow-wilsons-legacy-gets-complicated.html|access-date=August 29, 2016|newspaper=The New York Times|date=November 29, 2015}}</ref> แม้ว่าเขาจะได้รับคำวิจารณ์อย่างรุนแรงสำหรับการกระทำของเขาเกี่ยวกับการแบ่งแยกทางเชื้อชาติ<ref name="kazin1">{{cite news |last1=Kazin |first1=Michael |title=Woodrow Wilson Achieved a Lot. So Why Is He So Scorned? |url=https://www.nytimes.com/2018/06/22/books/review/patricia-otoole-moralist-woodrow-wilson-biography.html |access-date=January 27, 2019 |newspaper=The New York Times |date=June 22, 2018}}</ref>
 
==อ้างอิง==