ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองผดุงกรุงเกษม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Bkkpadungkrungkasem03.jpg|thumb|220px|คลองผดุงกรุงเกษม ในปัจจุบัน]]
 
'''คลองผดุงกรุงเกษม ''' ({{Lang-enroman|Khlong Phadung Krung Kasem}}) เป็น[[คลองขุด]]รอบพระนครชั้นนอก (ชั้นที่สาม) ขุดขึ้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดให้ขุดเมื่อ พ.ศ. 2394 ทรงพิจารณาเห็นว่าบ้านเมืองเจริญขึ้น ผู้คนก็มากกว่าเมื่อเริ่มสร้างกรุง ควรขยับขยายพระนครออกไป จึงโปรดเกล้าฯ ให้[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] (ช่วง บุนนาค) ว่าที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง [[เจ้าหมื่นไวยวรนาถ]]เป็นกงสีจ้างจีนขุดคลองพระนครออกไปอีกชั้นหนึ่ง โดยขุดถัดจาก[[คลองรอบกรุง]]ออกไปทางชาน[[พระนคร]] เริ่มขุดจากปากคลองริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]บริเวณ[[วัดเทวราชกุญชร]] (วัดสมอแครง) ย่าน[[เทเวศร์]] มีแนวขนานไปกับ[[คลองคูเมืองเดิม]] ผ่านย่าน[[หัวลำโพง]] ตัดผ่าน[[คลองมหานาค]]ไปทะลุแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้านหนึ่งบริเวณ[[วัดแก้วแจ่มฟ้า]] [[สี่พระยา]] คลองนี้ขุดเสร็จในปี [[พ.ศ. 2395]] ได้รับพระราชทานชื่อว่า "คลองผดุงกรุงเกษม"
 
คลองนี้ตัดผ่านคลองมหานาค บริเวณสี่แยกมหานาค ซึ่งเป็นย่านการค้าที่สำคัญ ผ่านบริเวณหัวลำโพงในปัจจุบัน ผ่าน[[วัดมหาพฤฒาราม]] (เดิมเรียกว่า วัดท่าเกวียน) ในสมัยที่ทำการขุดมีขนาดกว้าง 20 เมตร ลึก 3 เมตร ยาว 5.5 กิโลเมตร การขยายครั้งนี้ทำให้มีพื้นที่เมืองเพิ่มขึ้นสองเท่าเป็น {{convert|5552|rai|km2 sqmi|lk=in}}.<ref name="200 years">{{cite book|author=คณะกรรมการจัดงานสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี|title=จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์|publisher=Department of Fine Arts|year=1982}} Reproduced in {{cite web|title=กว่าจะมาเป็นกรุงเทพฯ |url=http://203.155.220.230/info/passbkk/frame.asp |publisher=BMA Data Center |archiveurl=https://web.archive.org/web/20141219220002/http://203.155.220.230/info/passbkk/frame.asp |archivedate=19 December 2014 |accessdate=24 December 2016 |url-status=dead }}</ref>
 
อนึ่ง คลองผดุงกรุงเกษมเป็นเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตหลายเขตในฝั่งพระนคร ดังนี้
บรรทัด 31:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://phadungcanal.tripod.com/social_phadung_th.htm เว็บไซต์คลองผดุงกรุงเกษม]
* http://dds.bma.go.th/Csd/canal_h3.htm