ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สามัญสำนึก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
dubious claim
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[Fileไฟล์:Aristotle Altemps Inv8575.jpg|thumb|right|[[แอริสตอเติล]]เป็นบุคคลแรกที่ทราบว่าอภิปรายเรื่อง "สามัญสำนึก" เขาอธิบายว่าสามัญสำนึกเป็นความสามารถของสัตว์ที่ประมวลประสาทสัมผัส-สัญชาน, ความทรงจำ และจิตนาการ ({{lang|grc|φρονεῖν}}, {{transl|grc|phroneîn}}) เพื่อบรรลุการตัดสินใจพื้นฐานหลายประเภท แต่มีมนุษย์เพียงชนิดเดียวที่มีการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลอย่างแท้จริง ({{lang|grc|[[wikt:νοεῖν#Ancient Greek|νοεῖν]]}}, {{transl|grc|noeîn}}), ซึ่งทำให้มนุษย์อยู่เหนือสามัญสำนึก]]
'''สามัญสำนึก''' ({{lang-en|common sense}}) คือความสำนึกหรือความเฉลียวใจที่คนปกติธรรมดาทั่วไปควรจะต้องรู้ โดยไม่จำเป็นต้องได้รับคำแนะนำสั่งสอน <ref>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542</ref> สามัญสำนึกพัฒนาจากความรู้ที่ได้จากการผ่าน[[ประสบการณ์]] [[การลองผิดลองถูก]] หรือบรรดาความรู้ที่ได้รับจาก[[จารีตประเพณี]] หลายคนใช้วลีนี้เพื่ออธิบายสิ่งที่อ้างถึง[[ความเชื่อ]]และ[[ญัตติ]]ที่คนส่วนใหญ่วินิจฉัยและประเมินอย่างรอบคอบ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ความรู้ที่ซับซ้อน การเรียน หรือการวิจัยเพิ่มเติม แต่มีพื้นฐานอยู่บนความรู้ที่คนธรรมดาทั่วไปเข้าใจ สามัญสำนึกไม่เหมือนกับความรู้หรือประสบการณ์