ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = <small>''Supremus Militaris Ordo Hospitalarius<br>Sancti Ioannis Hierosolymitani<br>Rhodiensis et Melitensis''</small>
เส้น 15 ⟶ 14:
| largest_city =
| government_type =
| leader_title1 = [[เจ้าชายแห่งคริสตจักร]]และ[[แกรนด์มาสเตอร์]]อัคราธิการ
| leader_name1 = Giacomo dalla Torre del Tempio di Sanguinetto
| leader_name1 = จาโกโม ดัลลา ตอร์เร เดล เทมโป ดี แซงกวีเนตโต
| leader_title2 =
| leader_name2 =
เส้น 22 ⟶ 21:
| established_event1 = ก่อตั้ง
| established_date1 = ประมาณ ค.ศ. 1099
| established_event2 = ลี้ภัยจากเกาะ[[มอลตา]]
| established_date2 = ค.ศ. 1798
| established_event3 = ตั้งศูนย์กองบัญชาการใหม่ที่[[กรุงโรม]]
| established_date3 = ค.ศ. 1834
| area_rank =
เส้น 39 ⟶ 38:
| calling_code =
}}
'''คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา''' ({{lang-en|Sovereign Military Order of Malta: SMOM}}) ชื่อเต็มว่า '''คณะเสนาธิปัตย์บริบาลในนักบุญยอห์นแห่งเยรูซาเลม แห่งโรดส์ และแห่งมอลตา''' (ละติน: Supremus Militaris Ordo Hospitalarius Sancti Ioannis Hierosolymitani Rhodiensis et Melitensis) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกฝ่ายฆราวาสซึ่งตามประเพณีแล้วมีลักษณะเป็นทหาร อัศวิน และขุนนาง ภราดาจากฝรั่งเศสนามว่า[[Blessed Gerard|เฌราร์ผู้รับพร]]ก่อตั้งขึ้นเป็น[[คณะอัศวินบริบาล]]ราวค.ศ. 1099 ณ กรุงเยรูซาเลม คณะนักบวชนี้จึงเป็นคณะอัศวินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลืออยู่ ปัจจุบัน กองบัญชาการของคณะอยู่ที่วังมอลตาในกรุงโรม
 
== ความรวม ==
แม้ว่าไม่มีดินแดนเป็นของตนเอง แต่คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตาก็ได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นองค์กรอธิปไตยตาม[[กฎหมายระหว่างประเทศ]]และมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับหลายประเทศ พันธกิจของคณะปรากฏอยู่ในคติพจน์ ''"ปกป้องศรัทธาแลอุปการผู้ยากไร้"'' (''Tuitio fidei et obsequium pauperum'')
[[ไฟล์:Diplomatic relations of the Sovereign Military Order of Malta.svg|266px|thumb|ประเทศที่มีสัมพันธ์กับคณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา<br>{{legend|#d40000|สัมพันธ์ทางทูต}} {{legend|#ff6600|สัมพันธ์แบบอื่น}}]]
คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา คือคณะอัศวินนักบุญยอห์นซึ่งมีถิ่นกำเนิดจากปาเลสไตน์ในช่วงสงครามครูเสดในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่เหลือรอดมาจนถึงปัจจุบันนี้ พวกเขาเคยมีอธิปไตยเหนือเกาะมอลตาและเกาะโรดส์ และในช่วงเวลาหนึ่งก็สูญเสียอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าว (เนื่องจากถูกฝรั่งเศสบุกยึด) แต่ความเป็นรัฐบาลยังคงอยู่ และได้รับการยอมรับตามกฎมายระหว่างประเทศเป็นบุคลาธิปไตย (sovereign entity) คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีความสัมพันธ์ทางการทูตกับ 110 ประเทศ และมีที่นั่งใน[[สหประชาชาติ]]และ[[สหภาพยุโรป]]ในฐานะผู้สังเกตการณ์ถาวร<ref name=":2">{{Cite web|url=https://www.orderofmalta.int/diplomatic-activities/multilateral-relations/|title=Multilateral relations|accessdate=28 August 2020|publisher=}}</ref>
 
ปัจจุบัน คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตาปฏิบัติภารกิจสาธารณกุศล อาทิ เวชบริบาล ภายใน 120 ประเทศทั่วโลก คณะมีอัศวินประจำการราว 13,500 นาย, ผู้ปฏิบัติวิชาชีพแบบได้รับเงินตอบแทน 42,000 ราย, และอาสามัครผู้ไม่ได้รับเงินตอบแทน 80,000 รายทั่วโลก
 
==การปกครอง==
[[ไฟล์:Ordine di Malta - Loreto 2009 15.jpg|266px|thumb|อัศวินของคณะแห่งมอลตา]]
ผู้นำสูงสุดของคณะถูกเรียกว่า "เจ้าชายและอัคราธิการ" (Prince and Grand Master) ซึ่งได้รับเลือกจากที่ประชุมคณะมนตรีแห่งรัฐจากสมาชิกซึ่งมีสมณศักดิ์เป็น[[พระคาร์ดินัล]] มีวาระดำรงตำแหน่งตลอดชีพ สาเหตุที่เรียกว่าเจ้าชายก็เนื่องจากว่าตำแหน่งนี้เคยมีสถานะเป็น[[เจ้าชายผู้คัดเลือก]]ของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ผู้นำคณะคนปัจจุบันคือ Giacomo dalla Torre del Tempio di Sanguinetto ได้รับเลือกเป็นอัคราธิการคนที่ 80 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2018
 
กองบัญชาการใหญ่ของคณะตั้งอยู่ที่วังมอลตา (Palazzo Malta) กรุงโรม ประเทศอิตาลี ภายในอาคารกองบัญชาการใหญ่ได้รับ[[สิทธิสภาพนอกอาณาเขต]]จากทางการอิตาลี กฎหมายอิตาลีมิอาจบังคับใช้ภายในอาคารดังกล่าว การปกครองของคณะอยู่ภายใต้ธรรมนูญกฎบัตรและประมวลกฎระเบียบของคณะ การปกครองแบ่งออกเป็น 6 มหาสำนัก (Grand Priory) ได้แก่: มหาสำนักโรม, มหาสำนักลอมบาร์ดีและเวนิส, มหาสำนักนาโปลีและซิซิลี, มหาสำนักโบฮีเมีย, มหาสำนักออสเตรีย และมหาสำนักอังกฤษ
 
คณะเสนาธิปัตย์ประกอบด้วย 12 เขต, 48 สาขาประจำชาติ, 133 คณะทูต<ref>{{Cite web|url=https://www.orderofmalta.int/sovereign-order-of-malta/national-institutions/|title=National Institutions|accessdate=28 August 2020|publisher=}}</ref>
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เส้น 48 ⟶ 59:
 
คณะมอลตาก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1099 โดยภราดาเฌราร์ ก่อตั้งสถานบริบาลขึ้นที่กรุง[[เยรูซาเลม]]เพื่อบริบาลคณะแสวงบุญที่เดินทางมาเยรูซาเลม และขยายสาขาออกไปตามเส้นทางการแสวงบุญ ต่อมาเมื่อเกิด[[สงครามครูเสด]] สมาชิกคณะนี้ต้องติดอาวุธป้องกันตนเองและทำหน้าที่ช่วยสู้รบไปในตัวด้วย จึงเกิดตำแหน่งอัศวินขึ้นในสมัยของผู้นำที่ชื่อ Fra Raymond du Puy ในค.ศ. 1126 ในที่สุดเมื่อฝ่ายมุสลิมมีชัยชนะเหนือคริสเตียนในเยรูซาเลมและดินแดน[[ปาเลสไตน์]] ในช่วงปี ค.ศ. 1187-1291 ทำให้ฝ่ายคริสเตียนต้องถอยไปตั้งมั่นอยู่ที่[[ไซปรัส]]ประมาณ 140 ปี
 
=== เกาะโรดส์ ===
{{โครง-ส่วน}}
ค.ศ. 1310 ฝ่ายคริสเตียนได้ยึด [[เกาะโรดส์]] เป็นที่มั่นแห่งใหม่ และสร้างความรุ่งเรืองแข็งแกร่งเป็นปึกแผ่นอยู่ที่เกาะโรดส์ ได้อีก 214 ปี จึงพ่ายแพ้แก่กองทัพของ[[จักรวรรดิออตโตมัน|ออตโตมัน]]ภายใต้การนำของ[[สุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมัน|สุลต่านสุไลมาน]]
 
=== เกาะมอลตา ===
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์มอลตาสมัยคณะนักบุญยอห์น}}
ในปี ค.ศ. 1532 ได้มีการย้ายไปตั้งมั่นอยู่ที่[[เกาะมอลตา]] และยังถูกกองทัพเรือ[[เติร์ก]]รุกรานต่อไป แต่ต้านทานไว้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี ค.ศ. 1571 ซึ่งมีสงครามทางทะเลครั้งใหญ่ (Battle of Lepanto) ซึ่ง Grand Master Fra Jean de la Valette สามารถนำทัพทำลายกองเรือตุรกีแตกพ่ายไป และอาณาจักรออตโตมันเริ่มอ่อนกำลังลง (ต่อมาเมืองหลวงของมอลตาได้ใช้ชื่อของ Grand Master ผู้นี้)
 
=== ทะเลแคริบเบียน ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ลี้ภัยสู่รัสเซีย ===
{{โครง-ส่วน}}
คณะแห่งมอลตาที่เกาะมอลตามาถูกยึดครองโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต|นายพลนโปเลียน โบนาปาร์ต]] ในค.ศ. 1798 และกองทัพของฝรั่งเศสทำลายทุกอย่างบนเกาะมอลตาจน คณะแห่งมอลตาต้องละทิ้งเกาะมอลตา และย้ายไปตั้งอยู่ชั่วคราวที่[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] จักรวรรดิรัสเซีย ก่อนจะกลับมาตั้งอยู่ที่โรมเมื่อปี ค.ศ. 1834 จนปัจจุบัน
 
=== กรุงโรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== กลับคืนสู่มอลตา ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== สถานะของคณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา ==
คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตาเป็นมิตรกับทุกประเทศ โดยมุ่งให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในประเทศต่าง ๆ จึงไม่มีปัญหาทางการเมืองกับประเทศใด ๆ และได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับกว่า 80 ประเทศ แม้คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตาจะไม่ได้เป็นสมาชิกของ[[องค์การสหประชาชาติ]]แต่ก็ได้รับสถานะเป็น ผู้สังเกตการณ์ถาวรในองค์การสหประชาชาติ เมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1994 ในนามของ "Hospitaller Organization" และ SMOM แต่งตั้งผู้แทนเข้าร่วมประชุมและสังเกตการณ์ในองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ
 
ปัจจุบัน คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีองค์กรสาขาหลัก (Grand Priories) 6 แห่ง สาขารอง (Sub Priories) 3 แห่ง และสมาชิกในเครือประจำประเทศต่าง ๆ (National Associations) 41 แห่งใน 37 ประเทศ โดยมีที่ทำการใหญ่อยู่ที่กรุงโรมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1834 คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีสมาชิกประมาณ 12,000 คนทั่วโลก
 
สมาชิกภาพในคณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีสามประเภทคือ
# Knights of Justice and Conventual Chaplains เป็นกลุ่มที่จะต้องผ่านการสาบานตน (solemn vows) ที่จะยึดมั่นต่อหลักการสำคัญ 3 ประการของนิกาย คือ poverty, charity และ obedience
# Knights and Dames in Obedience หรือ Knights and Dames of Magistral Grace สมาชิกต้องตั้งมั่นว่าจะเป็นคริสต์ศาสนิกชนที่เคร่งครัดตามแนวทางของคณะ (สมาชิกส่วนใหญ่ในสหรัฐฯ เป็นกลุ่มนี้)
# สมาชิกกลุ่มที่ 3 ประกอบด้วยหลายตำแหน่ง คือ
* Knights and Dames of Honor and Devotion
* Conventual Chaplains, ad honorem
* Knights and Dames of Grace and Devotion
* Magistral Chaplains
* Knights and Dames of Magistral Grace
* Donats of Devotion
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เส้น 95 ⟶ 68:
* [http://www.orderofmalta.ie/ Order of Malta Ambulance Corps Ireland]
* [http://orderofmalta.org.rs/?lang=en Order of Malta in Serbia]
* [http://www.smomun.org/ Permanent Observer Mission of the Order of Malta to the United Nations, IAEA and CTBTO in Vienna]
* [http://www.un.int/orderofmalta/ Permanent Observer Mission of the Order of Malta to the United Nations in New York]
* [http://www.regalis.com/stjohn.htm Order of Malta Studies]
* [http://www.heraldica.org/topics/orders/malta/maltasov.htm The Order of Malta, Sovereignty, and International Law] by François Velde.
* [http://www.worldstatesmen.org/Malta_knights.htm WorldStatesmen]
* [https://www.youtube.com/watch?v=6WQHtkN5mA4 Palazzo Malta]
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์มอลตา]]