ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
updated.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = <small>''Supremus Militaris Ordo Hospitalarius<br>Sancti Ioannis Hierosolymitani<br>Rhodiensis et Melitensis''</small>
| native_name = Sovereign Military Order of Malta<br />คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา
| conventional_long_name = คณะเสนาธิปัตย์บริบาล<br>ในนักบุญยอห์นแห่งเยรูซาเลม<br>แห่งโรดส์ และแห่งมอลตา
| conventional_long_name = Sovereign Military Hospitaller Order of Saint John of Jerusalem of Rhodes and of Malta
| common_name = คณะแห่งมอลตาเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา
| image_flag = Flag of the Order of St. John (various).svg
| image_coat = Coat of arms of the Sovereign Military Order of Malta (variant).svg
| symbol_type = ตราอาร์ม
| image_map = LocationVaticanCity.svg
| motto = ''"Tuitio Fidei et Obsequium Pauperum"''{{spaces|2}}<small> ([[Latin]]) <br/> "Defence of the faith and assistance to the poorปกป้องศรัทธาแลอุปการผู้ยากไร้"</small>
| anthem = "{{lang|la|[[Ave Crux Alba]]}}"{{spaces|2}}<small> ([[Latin]]) <br/> "Hail, thou White Cross"</small>
| official_languages = [[อิตาลี]]
บรรทัด 39:
| calling_code =
}}
'''รัฐอธิปไตยทหารออร์เดอร์ออฟมอลตา''' หรือ '''คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตาเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา''' ({{lang-en|Sovereign Military Order of Malta: SMOM}}) ย่อว่า '''ออร์เดอร์ออฟมอลตา''' หรือ '''คณะแห่งมอลตา''' (Order of Malta) ชื่อเต็มว่า '''คณะฮอสปิทัลเลอร์ทหารองค์อธิปัตย์แห่งเสนาธิปัตย์บริบาลในนักบุญยอห์นแห่งเยรูซาเลม แห่งโรดส์ และแห่งมอลตา''' (Sovereignละติน: MilitarySupremus HospitallerMilitaris OrderOrdo ofHospitalarius SaintSancti JohnIoannis ofHierosolymitani JerusalemRhodiensis ofet Rhodes and of MaltaMelitensis) เป็น[[Catholic religious order|คณะนักบวชคาทอลิกฝ่ายฆราวาส]]ซึ่งตามประเพณีแล้วมีลักษณะเป็นทหาร อัศวิน และขุนนาง เดิมภราดาจากฝรั่งเศสนามว่า[[Blessed Gerard|เจอราร์ดเฌราร์ผู้รับพร]] (Blessed Gerard) ก่อตั้งขึ้นเป็นกลุ่ม[[คณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์บริบาล]] (Knights Hospitaller) ราว ค.ศ. 1099 ณ กรุง[[เยรูซาเลม]] [[ราชอาณาจักรเยรูซาเลม]] คณะนักบวชนี้จึงเป็นคณะอัศวินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่ยังเหลืออยู่ ปัจจุบัน กองบัญชาการของคณะอยู่ที่[[Palazzo Malta|วังมอลตา]] (Palazzo Malta) ในกรุง[[โรม]] [[ประเทศอิตาลี]] และถือกันอย่างกว้างขวางว่า คณะนี้เป็น[[อำนาจอธิปไตย|บุคคลอธิปไตย]] (sovereign subject) ตาม[[กฎหมายระหว่างประเทศ]] ภารกิจของคณะปรากฏอยู่ในคติพจน์ของคณะเอง คือ "ปกป้องศรัทธา ช่วยเหลือยาจก" (Defence of the faith and assistance to the poor; ''Tuitio fidei et obsequium pauperum'')
 
แม้ว่าไม่มีดินแดนเป็นของตนเอง แต่คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตาก็ได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นองค์กรอธิปไตยตาม[[กฎหมายระหว่างประเทศ]]และมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับหลายประเทศ พันธกิจของคณะปรากฏอยู่ในคติพจน์ ''"ปกป้องศรัทธาแลอุปการผู้ยากไร้"'' (''Tuitio fidei et obsequium pauperum'')
== ที่มาและสัญลักษณ์ ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|คณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์บริบาล}}
Order of Malta คณะมอลตาเป็นหนึ่งในสี่นิกายของ โรมันคาทอลิก ที่เก่าแก่ที่สุด (อีกสามนิกายคือ Basilians, Angustinians และ Benedictines) มีลักษณะคล้ายกับองค์กรศาสนา เช่นเดียวกับคณะนักบวช (order) อื่นอีก 4 สาขา คือ Order of Teutonicคณะอัศวินทิวทัน, Order of Templeคณะอัศวินเทมพลาร์, Order of St. Lazareคณะนักบุญลาซารัส และคณะนักบุญทอมัส Order of St. Thomas A. Bucket of Acre Order of Malta

คณะมอลตาก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1099 โดยภราดาเฌราร์ Gerard ซึ่งก่อตั้งสถานพยาบาลบริบาลขึ้นที่กรุง[[เยรูซาเลม]] เพื่อรักษาพยาบาลกลุ่มผู้บริบาลคณะแสวงบุญ (Pilgrims) ที่เดินทางมาเยรูซาเลม และขยายสาขาออกไปตามเส้นทางการแสวงบุญ ต่อมา เมื่อมีเกิด[[สงครามครูเสด]] สมาชิกคณะนี้ต้องติดอาวุธป้องกันตนเองและทำหน้าที่ช่วยสู้รบไปในตัวด้วย จึงเกิดตำแหน่ง[[อัศวิน]] (Knight) ขึ้นในสมัยของผู้นำที่ชื่อ Fra Raymond du Puy ในปี คในค.ศ. 1126 ในที่สุดเมื่อฝ่ายมุสลิมมีชัยชนะเหนือคริสเตียนในเยรูซาเลมและดินแดน[[ปาเลสไตน์]] ในช่วงปี ค.ศ. 1187-1291 ทำให้ฝ่ายคริสเตียนต้องถอยไปตั้งมั่นอยู่ที่[[ไซปรัส]]ประมาณ 140 ปี
 
=== เกาะโรดส์ ===
เส้น 52 ⟶ 53:
ค.ศ. 1310 ฝ่ายคริสเตียนได้ยึด [[เกาะโรดส์]] เป็นที่มั่นแห่งใหม่ และสร้างความรุ่งเรืองแข็งแกร่งเป็นปึกแผ่นอยู่ที่เกาะโรดส์ ได้อีก 214 ปี จึงพ่ายแพ้แก่กองทัพของ[[จักรวรรดิออตโตมัน|ออตโตมัน]]ภายใต้การนำของ[[สุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมัน|สุลต่านสุไลมาน]]
 
=== เกาะมอลตา ===
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์มอลตาสมัยคณะแห่งนักบุญจอห์นยอห์น}}
ในปี ค.ศ. 1532 ได้มีการย้ายไปตั้งมั่นอยู่ที่[[เกาะมอลตา]] และยังถูกกองทัพเรือ[[เติร์ก]]รุกรานต่อไป แต่ต้านทานไว้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี ค.ศ. 1571 ซึ่งมีสงครามทางทะเลครั้งใหญ่ (Battle of Lepanto) ซึ่ง Grand Master Fra Jean de la Valette สามารถนำทัพทำลายกองเรือตุรกีแตกพ่ายไป และอาณาจักรออตโตมันเริ่มอ่อนกำลังลง (ต่อมาเมืองหลวงของมอลตาได้ใช้ชื่อของ Grand Master ผู้นี้)
 
=== ทะเลแคริบเบียน ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ลี้ภัยสู่รัสเซีย ===
{{โครง-ส่วน}}
คณะแห่งมอลตาที่เกาะมอลตามาถูกยึดครองโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต|นายพลเอกนโปเลียน โบนาปาร์ต]] ในปี คในค.ศ. 1798 และกองทัพของฝรั่งเศสทำลายทุกอย่างบนเกาะมอลตาจน Order of Malta คณะแห่งมอลตาต้องละทิ้งเกาะมอลตา และย้ายไปตั้งอยู่ชั่วคราวที่[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] จักรวรรดิรัสเซีย ก่อนจะกลับมาตั้งอยู่ที่[[โรม]]เมื่อปี ค.ศ. 1834 จนปัจจุบัน
 
=== กรุงโรม ===
เส้น 69 ⟶ 70:
{{โครง-ส่วน}}
 
== สถานะของคณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตาเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา ==
คณะทหารองค์อธิปัตย์เสนาธิปัตย์แห่งมอลตาเป็นมิตรกับทุกประเทศ โดยมุ่งให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในประเทศต่าง ๆ จึงไม่มีปัญหาทางการเมืองกับประเทศใด ๆ และได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับกว่า 80 ประเทศ แม้คณะทหารองค์อธิปัตย์เสนาธิปัตย์แห่งมอลตาจะไม่ได้เป็นสมาชิกของ[[องค์การสหประชาชาติ]]แต่ก็ได้รับสถานะเป็น Permanent Observer ผู้สังเกตการณ์ถาวรในองค์การสหประชาชาติ เมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1994 ในฐานะนามของ "Hospitaller Organization" และ SMOM แต่งตั้งผู้แทนเข้าร่วมประชุมและสังเกตการณ์ในองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ
 
ปัจจุบัน คณะทหารองค์อธิปัตย์เสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีองค์กรสาขาหลัก (Grand Priories) 6 แห่ง สาขารอง (Sub Priories) 3 แห่ง และสมาชิกในเครือประจำประเทศต่าง ๆ (National Associations) 41 แห่งใน 37 ประเทศ โดยมีที่ทำการใหญ่ (Headquaters) อยู่ที่กรุงโรมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1834 SMOM คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีสมาชิกประมาณ 12,000 คนทั่วโลก
สมาชิกภาพของ SMOM 3 ประเภท คือ
 
สมาชิกภาพในคณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตามีสามประเภทคือ
# Knights of Justice and Conventual Chaplains เป็นกลุ่มที่จะต้องผ่านการสาบานตน (solemn vows) ที่จะยึดมั่นต่อหลักการสำคัญ 3 ประการของนิกาย คือ poverty, charity และ obedience
# Knights and Dames in Obedience หรือ Knights and Dames of Magistral Grace สมาชิกต้องตั้งมั่นว่าจะเป็นคริสต์ศาสนิกชนที่เคร่งครัดตามแนวทางของคณะ (สมาชิกส่วนใหญ่ในสหรัฐฯ เป็นกลุ่มนี้)
เส้น 82 ⟶ 85:
* Knights and Dames of Magistral Grace
* Donats of Devotion
 
== เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์ ==
{{บทความหลัก|เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์คณะทหารองค์อธิปัตย์แห่งมอลตา}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[อัศวินฮอสปิทัลเลอร์]]
 
== อ้างอิง ==