ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลเจ้าชินโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Shrine ema.JPG|thumb|ภาพวาดของศาลเจ้าชินโตแห่งหนึ่ง]]
 
'''ศาลเจ้าชินโต''' หรือ '''จินจะ''' ({{nihongo|神社|jinja; แปลตรงตัวว่า ''||ที่อยู่ของเทพเจ้า''<ref>Stuart D. B. Picken, 1994. p. xxiii</ref>}}) เป็น[[ศาสนสถาน]]ที่ประดิษฐาน[[คามิ]] หรือ [[เทพเจ้าของญี่ปุ่น]]หนึ่งพระองค์หรืออาจมากกว่านั้นก็ได้ โดยอาคารหลักของศาลเจ้าชินโตจะมีไว้สำหรับเก็บรักษาศาสนวัตถุอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ไม่ใช่สำหรับให้ผู้คนเข้าไปสักการะ<ref name="scheid2">{{cite web|url=http://www.univie.ac.at/rel_jap/bauten/bauten.htm|title=Religiöse Bauwerke in Japan|last=[[Bernhard Scheid]]|first=|publisher=University of Vienna|language=de|accessdate=27 June 2010}}</ref> ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]] ศาลเจ้าชินโตมีหลายชื่อ นอกจากชื่อ ''จินจะ'' แล้วยังมี ''กงเก็ง'' (gongen), ''ยาชิโระ'' (yashiro), ''ไทชะ'' (taisha) ซึ่งเรียกแตกต่างกันไปตามความหมายเฉพาะ
 
อาคารที่เชื่อว่าเป็นที่สถิตของ[[คามิ]] (เทพเจ้า) จะเรียกว่า ''[[ฮนเด็ง]]'' (honden) หรือบางครั้งก็ใช้คำว่า ''ชินเด็ง'' (shinden)<ref name="IK">Iwanami {{nihongo|[[Kōjien]]|広辞苑}} Japanese dictionary</ref>ซึ่งโดยทั่วไปจะไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม แต่ในบางศาลเจ้าอาจไม่มีฮนเด็งก็ได้ เช่นในกรณีที่ศาลเจ้านั้นบูชาภูเขาทั้งลูกโดยตรง ก็มักจะประดิษฐานเพียงแท่นบูชาที่เรียกว่า ''ฮิโมโรงิ ''(himorogi) หรือผูกที่สะกดวิญญาณ ''โยริชิโระ'' (yorishiro) กับวัตถุต่าง ๆ เช่น ต้นไม้ หรือก้อนหิน<ref>Mori Mizue</ref> ตัวอาคารฮนเด็งมักจะเชื่อมต่อเข้ากับหอเคารพ หรือ ''ไฮเด็ง ''(haiden) ซึ่งเป็นพื้นที่สำหรับสาธารณชนไว้สวดภาวนาหรือเคารพคามิที่เก็บไว้ในฮนเด็ง อย่างไรก็ตาม เป้าหมายสำคัญของศาลเจ้าชินโตไม่ได้มีไว้เพื่อการสักการะเป็นหลัก แต่มีไว้เพื่อเก็บรักษาศาสนวัตถุศักดิ์สิทธิ์เท่านั้น<ref name="scheid2"/>
บรรทัด 30:
[[ไฟล์:Tsurugaoka Hachimangū-ji.jpg|thumb|ภาพวาดโบราณแสดง[[ศาลเจ้าสึรูงาโอกะฮาจิมัง]]ซึ่งอยู่ด้านบนของภาพซึ่งมีวัดพุทธสร้างประกอบ สังเกตได้จากเจดีย์สองชั้นด้านล่าง]]
 
จากเดิม การสร้างศาลเจ้าชินโตนั้นมักสร้างแบบชั่วคราว ไม่ได้มีลักษณะเป็นถาวรวัตถุ จนกระทั่งการเข้ามาของ[[พระพุทธศาสนา]] สร้างแนวติดของการสร้างถาวรวัตถุขึ้น<ref name="NKS">Fujita, Koga (2008:20-21)</ref> ซึ่งชาวญี่ปุ่นนิยมสร้างวัดพุทธไว้ประกอบร่วมกับศาลเจ้าชินโตเดิม ลักษณะแบบนี่นี้เรียกว่า ''จิงกู-จิ'' ({{nihongo|''jingū-ji''|神宮寺|jingū-ji}}) ซึ่งแปลตรงตัวว่าวัดศาลเจ้า ซึ่งส่วนมากได้ถูกทำลายในภายหลังด้วยข้อกฎหมายใหม่ที่บัญญัติให้แยกวัดและศาลเจ้าออกจากกัน อย่างไรก็ตาม คติการสร้างศาลเจ้าชินโตใกล้กับวัดพุทธยังคงปรากฏให้เห็นทั่วไป เช่น [[วัดอาซากูซะ]]ใน[[โตเกียว]] ประกอบด้วย [[วัดเซ็นโซ]]ซึ่งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา [[นิกายมหายาน]] กับ [[ศาลเจ้าอาซากูซะ]] ซึ่งเป็นศาลเจ้าชินโตที่บูชาดวงวิญญาณของผู้สร้างวัดเซ็นโซ เป็นต้น<ref>ข้อมูลจากหน้า [[ศาลเจ้าอาซากูซะ]] บนวิกิพีเดียภาษาไทย</ref> ซึ่งรูปแบบของศาลเจ้าอาซากูซะที่กล่าวไปข้างต้นจะเรียกว่า ''ชินจู-โด'' ซึ่งเป็น[[ศาลเจ้าชินโต#ชินจูชะ|ชินจูชะ]]ประเภทหนึ่ง
 
โดยทั่วไปศาลเจ้าชินโตจะมีการสร้างใหม่บนศาลเจ้าเดิมเป็นรอบ ๆ เช่น [[ศาลเจ้าอิเซะ]]จะสร้างใหม่ทุก 20 ปี แต่ที่สำคัญเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกศาลเจ้ามาตลอดตั้งแต่อดีต คือจะไม่มีการเปลี่ยนทรงศาลเจ้า''เด็ดขาด'' และจะสร้างด้วยสถาปัตยกรรมดั้งเดิมเหมือนศาลเจ้าหลังเดิมเท่านั้น<ref name="NKS"/>