ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Aj.nattap/การจัดการเรียนรู้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aj.nattap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aj.nattap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<h1 align=center style='text-align:center'><span lang=TH style='font-size:20.0pt;
{{กระบะทรายผู้ใช้}}
<!-line- height:107%'''<big>การจัดการเรียนรู้</big>''' --span><br/h1>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><span lang=TH>การจัดการเรียนรู้เป็นศาสตร์และศิลป์ของผู้สอนที่ต้องการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีอยู่ให้แก่ผู้เรียน
ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ จึงถือว่าเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนต้องเรียนรู้และเข้าใจ
ส่งผลให้ไปสู่การปฏิบัติอย่างถูกต้องและเกิดสัมฤทธิ์ผล ซึ่งผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้าและ
ซึ่งผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ </span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpFirst style='margin-left:72.0pt;text-indent:-18.0pt'><span
* '''ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้'''
style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:Symbol'>&middot;<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span></span><span lang=TH>ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ </span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
*- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
*- ความหมายของการจัดการเรียนรู้
*-style='font:7.0pt ความสำคัญ"Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ความหมายของการจัดการเรียนรู้</span></p>
*- ประเภทของการจัดการเรียนรู้
*- ลักษณะของการจัดการเรียนรู้ที่ดี
*- องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้และกระบวนการจัดการเรียนรู้
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
* '''ทฤษฎีการเรียนรู้'''
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
*- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorist)
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
*- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivist)
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ประเภทของการจัดการเรียนรู้</span></p>
*- ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanist)
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
* '''การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ'''
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ลักษณะของการจัดการเรียนรู้ที่ดี</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
*- ความหมายของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
*- หลักการพื้นฐานของแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
*-style='font:7.0pt บทบาท"Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>องค์ประกอบของครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและกระบวนการจัดการเรียนรู้</span></p>
*- บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
*- รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:72.0pt;text-indent:-18.0pt'><span
* '''วิธีการจัดการเรียนรู้'''
style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:Symbol'>&middot;<span
* '''กระบวนการจัดการเรียนรู้'''
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span></span><span lang=TH>ทฤษฎีการเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
*- กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats)
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
*- การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
*- มิติการคิดและกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(</span>Behaviorist)</p>
== 1.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ==
'''1.1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้'''<br>
<ref>ฮู และ ดันแคน (Hough and Duncan 1970: 144)</ref>ฮู และ ดันแคน (Hough and Duncan 1970: 144) ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ว่า หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลได้ใช้ความรู้ของตนเองอย่างสร้างสรรค์เพื่อสนับสนุนให้ผู้อื่นเกิดการเรียนรู้ และมีความผาสุก ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงเป็นกิจกรรมในแง่มุมต่าง ๆ 4 ด้าน ดังนี้
<br>1) การจัดการหลักสูตร (Curriculum)
<br>2) การจัดการเรียนการสอน (Instruction)
<br>3) การวัดผล (Measuring)
<br>4) การประเมินผลการเรียนรู้ (Evaluation) หลังการเรียนการสอน <br>
<ref>มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557: 8)</ref> มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557: 8) ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ ว่าเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้<br>
<ref>ชัยรัตน์ บุมี (2557)</ref> ชัยรัตน์ บุมี (2557) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้นั้นเป็นกระบวนการของการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน ด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนโดยอาศัยรูปแบบการเรียนรู้ ทักษะและเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ที่ดีและบรรลุผลตามจุดประสงค์ของการสอน
สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ครูกับนักเรียนเกิดกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันโดยอาศัยรูปแบบการเรียนรู้ กิจกรรม รวมทั้งทักษะและเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด<br>
''' 1.2 ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้'''<br>
<ref>มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557: 8)</ref> มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557: 8) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า การจัดการเรียนรู้ปรียบเสมือนเครื่องมือที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักการเรียน ตั้งใจเรียนและเกิด
การเรียนรู้ขึ้นการเรียนของผู้เรียนจะไปสู่จุดหมายปลายทาง คือ ความสำเร็จในชีวิตหรือไม่เพียงใดนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการจัดการเรียนรู้ที่ดีของผู้สอน หรือผู้สอนด้วยเช่นกัน หากผู้สอนรู้จักเลือกใช้วิธีการจัการเรียนรู้ที่ดีและเหมาะสมแล้ว ย่อมจะมีผลตีต่อการเรียนของผู้เรียน ดังนี้ <br>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
# มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาวิชา หรือกิจกรรมที่เรียนรู้
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
# เกิดทักษะหรือมีความชำนาญใน เนื้อหาวิชา หรือกิจกรรมที่เรียนรู้
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
# เกิดทัศนคติที่ดีต่อสิ่งที่เรียน
</span>(Cognitivist)</p>
# สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกติใช้ในชีวิตประจำวันได้
 
# สามารถนำความรู้ไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมต่อไปอีกได้ <br>
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
อนึ่ง การที่ผู้สอนจะส่งเสริมให้ผู้เรียนความเจริญงอกงามในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างทาย อารมณ์
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
สังคม และสติปัญญานั้น การส่งเสริมที่ดีที่สุดก็คือการให้การศึกษา ซึ่งจากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญในการให้การศึกษาแก่ผู้เรียนเป็นอย่างมาก
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH
style='color:black'>ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม </span><span
style='color:black'>(Humanist)</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:72.0pt;text-indent:-18.0pt'><span
style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:Symbol'>&middot;<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span></span><span lang=TH>การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>ความหมายของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>หลักการพื้นฐานของแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้<span
style='color:black'>ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้<span
style='color:black'>ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:72.0pt;text-indent:-18.0pt'><span
style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:Symbol'>&middot;<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span></span><span lang=TH style='color:black'>วิธีการจัดการเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:72.0pt;text-indent:-18.0pt'><span
style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:Symbol'>&middot;<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span></span><span lang=TH>กระบวนการจัดการเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวก
6 ใบ (</span>Six Thinking Hats)</p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>การจัดการเรียนรู้แบบ
4 </span>MAT</p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:108.0pt;text-indent:
-18.0pt'><span style='font-size:12.0pt;line-height:107%;font-family:"Courier New"'>o<span
style='font:7.0pt "Times New Roman"'>&nbsp;&nbsp; </span></span><span lang=TH>มิติการคิดและกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ</span></p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpMiddle style='margin-left:72.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoListParagraphCxSpLast style='margin-left:72.0pt'>&nbsp;</p>
 
<h2>1<span lang=TH>. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้</span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </h2>
 
<h3><span lang=TH>1.1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>ฮู และ ดันแคน (</span>Hough
and Duncan <span lang=TH>1970: 144) ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ว่า หมายถึง
กิจกรรมที่บุคคลได้ใช้ความรู้ของตนเองอย่างสร้างสรรค์เพื่อสนับสนุนให้ผู้อื่นเกิดการเรียนรู้
และมีความผาสุก ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงเป็นกิจกรรมในแง่มุมต่าง ๆ 4 ด้าน ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:54.0pt'>1) <span lang=TH>การจัดการหลักสูตร
(</span>Curriculum)</p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:54.0pt'>2) <span lang=TH>การจัดการเรียนการสอน
(</span>Instruction)</p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:54.0pt'>3) <span lang=TH>การวัดผล (</span>Measuring)</p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:54.0pt'>4) <span lang=TH>การประเมินผลการเรียนรู้
(</span>Evaluation) <span lang=TH>หลังการเรียนการสอน </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557</span>: <span lang=TH>8)
ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้
ว่าเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
เพื่อที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้</span><br>
<span lang=TH>ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>ชัยรัตน์ บุมี
(2557) กล่าวว่า
การจัดการเรียนรู้นั้นเป็นกระบวนการของการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน
ด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนโดยอาศัยรูปแบบการเรียนรู้
ทักษะและเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู
เพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ที่ดีและบรรลุผลตามจุดประสงค์ของการสอน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้
หมายถึง
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ครูกับนักเรียนเกิดกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันโดยอาศัยรูปแบบการเรียนรู้
กิจกรรม รวมทั้งทักษะและเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><img width=647 height=270
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image002.png"></p>
 
<h3><span lang=TH>1.2 ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span lang=TH>มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557</span>: <span lang=TH>8) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า
การจัดการเรียนรู้ปรียบเสมือนเครื่องมือที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักการเรียน
ตั้งใจเรียนและเกิด<br>
การเรียนรู้ขึ้นการเรียนของผู้เรียนจะไปสู่จุดหมายปลายทาง คือ ความสำเร็จในชีวิตหรือไม่เพียงใดนั้น
ย่อมขึ้นอยู่กับการจัดการเรียนรู้ที่ดีของผู้สอน หรือผู้สอนด้วยเช่นกัน หากผู้สอนรู้จักเลือกใช้วิธีการจัการเรียนรู้ที่ดีและเหมาะสมแล้ว
ย่อมจะมีผลตีต่อการเรียนของผู้เรียน ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:58.5pt'><span lang=TH>1.
มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาวิชา หรือกิจกรรมที่เรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:58.5pt'><span lang=TH>2.
เกิดทักษะหรือมีความชำนาญใน เนื้อหาวิชา หรือกิจกรรมที่เรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:58.5pt'><span lang=TH>3.
เกิดทัศนคติที่ดีต่อสิ่งที่เรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:58.5pt'><span lang=TH>4.
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกติใช้ในชีวิตประจำวันได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:58.5pt'><span lang=TH>5.
สามารถนำความรู้ไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมต่อไปอีกได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:58.5pt'><span lang=TH>อนึ่ง
การที่ผู้สอนจะส่งเสริมให้ผู้เรียนความเจริญงอกงามในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างทาย
อารมณ์ </span></p>
 
<p class=MsoNormal><span lang=TH>สังคม และสติปัญญานั้น
การส่งเสริมที่ดีที่สุดก็คือการให้การศึกษา ซึ่งจากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญในการให้การศึกษาแก่ผู้เรียนเป็นอย่างมาก</span></p>
 
<p class=MsoNormal><span lang=TH>&nbsp;</span></p>
 
<h3><span lang=TH>1.3 ประเภทของการจัดการเรียนรู้</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>การจัดประเภทของการจัดการเรียนรู้จําแนกได้หลายแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเกณฑ์การพิจารณาว่าจะใช้เกณฑ์ใดมาเป็นตัวแบ่งเป็นประเภทต่าง
ๆ ดังเช่น <span style='color:black'>บุญชม ศรีสะอาด (</span></span><span
style='color:black'>2537 <span lang=TH>อ้างใน ชัยรัตน์ บุมี, 2557</span>) <span
lang=TH>ได้จําแนกไว้ดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>1. <span lang=TH>จําแนกโดยใช้จํานวนนักเรียนและปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนเป็นเกณฑ์
สามารถจําแนกได้ </span>3<span lang=TH> ประเภท คือ การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่
การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มย่อย การจัดการเรียนรู้แบบรายบุคคล</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.25pt'>1.1<span lang=TH>
การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ มีนักเรียนจํานวนมาก ดังนั้น ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง <br>
ครูกับนักเรียนเป็นแบบทางเดียว (</span>One way) <span lang=TH>ซึ่งการจัดการเรียนแบบกลุ่มใหญ่ครูมีบทบาทในการเรียน<br>
การสอนเกือบทั้งหมด ตัวอย่าง ได้แก่การสอนแบบบรรยาย เป็นต้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.25pt'>1.2<span lang=TH>
การสอนแบบกลุ่มย่อย การสอนแบบนี้มุ่งให้นักเรียนทุกคนในกลุ่มมีส่วนเข้าร่วม
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ให้มากที่สุด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนมีความใกล้ชิดกับนักเรียนมากขึ้น
ตัวอย่าง ได้แก่ การสอนแบบอภิปราย การสอนโดยการแสดงบทบาทสมมุติ การสอนแบบตัวอย่าง
เป็นต้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.25pt'>1.3 <span lang=TH>การสอนเป็นรายบุคคล
เป็นการจัดการเรียนการสอนที่นักเรียนสามารถเลือก<br>
วิธีเรียนที่เหมาะสมกับความสนใจของตน นักเรียนเรียนไปตามความสามารถของตนและขณะเดียวกัน
นักเรียนจะทราบความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองอยู่เสมอ
โดยหลักการจัดการเรียนรู้ของวิธีนี้ ครูจะมีวิธีการเฉพาะแต่ละบุคคลซึ่งประกอบด้วย
วัตถุประสงค์ วิธีการจัดการเรียนรู้ การประเมินผล การเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบนี้ ได้แก่ การสอนแบบสัญญาการเรียนการสอนเฉพาะบุคคล</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.2pt'>2. <span lang=TH>การจําแนกโดยใช้ปริมาณของบทบาทครูกับบทบาทนักเรียนเป็นเกณฑ์
ซึ่งจําแนกได้ </span><br>
4<span lang=TH> ประเภท ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.35pt'>2.1<span lang=TH>
การสอนที่ครูเป็นเกณฑ์หรือเป็นศูนย์กลาง เป็นการสอนที่เน้นบทบาทของครู<br>
เป็นหลัก เช่น การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบสาธิต การสอนโดยทั่วไปจะต้องมีบทบาทของ
นักเรียนและครู ในการสอนแบบบรรยาย ขณะที่ครูบรรยายนักเรียนจะมีบทบาทในการฟัง
ติดตาม ตีความหมาย จดจําเนื้อหาสาระ จดบันทึก
นักเรียนอาจจะทําบทบาทเหล่านี้ตลอดเวลาเช่นเดียวกับการบรรยายของครู
การที่จะจัดว่าครูเป็นแกนหรือเป็นศูนย์กลาง พิจารณาได้จากกิจกรรมของครูว่า
สามารถทําให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ ถ้าครูไม่บรรยาย ไม่สาธิตให้ดู
ก็ไม่เกิดการเรียนรู้ ในเรื่องนั้น ๆ และบทบาทของนักเรียนจะเป็นแบบเฉื่อยชา (</span>Passive)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.35pt'>2.2<span lang=TH>
การสอนที่นักเรียนเป็นแกนหรือเป็นศูนย์กลางการสอนแบบนี้เน้นบทบาท<br>
การทํากิจกรรมของนักเรียนให้นักเรียนเป็นผู้ลงมือกระทําด้วยตนเองให้มากที่สุดเพื่อประสบการณ์ตรง<br>
ของนักเรียน ตัวอย่างได้แก่ วิธีการสอนแบบปฏิบัติการ
วิธีการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมุติ วิธีการสอนแบบเป็นคู่
วิธีการสอนแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
วิธีการสอนเหล่านี้นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการกระทํากิจกรรมของนักเรียนเป็นสําคัญ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.35pt'>2.3<span lang=TH>
การสอนที่เน้นนักเรียนและครูมีกิจกรรมร่วมกัน การสอนแบบนี้ ได้แก่ การสอน
แบบสัมมนา การสอนแบบอภิปราย</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.35pt'>2.4<span lang=TH>
การสอนที่ใช้อุปกรณ์พิเศษ เป็นการสอนที่บทบาทของการสอนเกือบทั้งหมดอยู่ที่ <br>
สื่ออุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ เป็นไปตามบทเรียนที่ครูสร้างไว้แล้วในการสอนของครู
ครูควรพิจารณาเลือกประเภทของการสอนมาใช้ โดยพิจารณาถึง ความเหมาะสม
สอดคล้องกับบริบทของเนื้อหาสาระที่สอน <br>
และสภาพความแตกต่างของนักเรียน
เพื่อเป็นการส่งเสริมนักเรียนให้เกิดศักยภาพการเรียนรู้ที่แท้จริง <br>
ตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน</span></p>
 
<p class=MsoNormal>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal><img width=582 height=256
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image004.png"></p>
 
<p class=MsoNormal>&nbsp;</p>
 
<h3><span lang=TH>1.4 ลักษณะของการจัดการเรียนรู้ที่ดี </span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='line-height:
107%'>มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์</span><span lang=TH> ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557</span>:
<span lang=TH>12-13) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้นั้นจะเกิดขึ้นได้จะต้องมีกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
มีจุดประสงค์ในการจัดการเรียนรู้และ<br>
การจัดการเรียนรู้จะประสบผลสำเร็จได้ดี ผู้สอนต้องมีทั้งความรู้และเทคนิคการจัดการเรียนรู้
ซึ่งมีลักษณะการจัดการเรียนรู้ที่ดี ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:54.0pt'><span lang=TH>1.
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดอยู่เสมอ โดยการชักถามหรือให้แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับปัญหา</span></p>
 
<p class=MsoNormal><span lang=TH>ง่าย ๆ สำหรับผู้เรียนในระดับต่าง ๆ
เพื่อจะได้เป็นการฝึกให้ผู้เรียนคิดหาเหตุผล คิดเปรียบเทียบ
และคิดพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงให้มากที่สุดด้วยการเรียนโดยการกระทำด้วยตนเอง
(</span>Learning by Doing)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>3.
ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำงานเป็นกลุ่ม (</span>Group Working) <span lang=TH>โดยมีการปรึกษาหารือกันในกลุ่ม
แบ่งงานกันทำด้วยความร่วมมือกันและประเมินผลรวมกัน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>4.
ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเองตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>5.
มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดการเรียนรู้อยู่เสมอ เพื่อให้การจัดการเรียนรู้นั้นเกิดความ
ยืดหยุ่น น่าสนใจ และไม่น่าเบื่อ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>6.
มีการเตรียมกรจัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้า เพื่อที่ผู้สอนจะได้ทราบว่าจะสอนอย่างไรบ้าง
ตามลำดับขั้นและยังช่วยให้ผู้สอนพร้อมที่จะสอนด้วยความมั่นใจ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>7.
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
และคิดหาเหตุผลความเป็นมาของสิ่งที่เรียน และมีการรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>8.
มีการประเมินผลอยู่ตลอดเวลา เน้นการประเมินตามสภาพจริง ประเมินตามความรู้ ความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง
เพื่อให้แน่ใจว่าการจัดการเรียนรู้ได้ผลตรงตามจุดประสงค์ที่วางไว้ หรือไม่ เพียงใด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>9. มีสื่อการจัดการเรียนรู้
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสนใจและเข้าใจบทเรียน เช่น ของจริงรูปภาพ หุ่นจำลอง แผนภูมิ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิดีทัศน์ ฐานข้อมูลการเรียนรู้ เว็บไซต์
และโสตทัศนูปกรณ์อื่นๆ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>10.
การจูงใจในระหว่างการจัดการเรียนรู้ เช่น การให้รางวัล การชมเชย การให้คำแนะนำ
การให้คะแนน การสอบ การแข่งขัน การปรบมือให้เกียรติ ฯลฯ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>11.
มีกิจกรรมให้ผู้เรียนทำหลายอย่างเพื่อเราความสนใจของผู้เรียนและช่วยให้ผู้เรียนสนุกสนานใน<br>
การเรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>12.
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในทุกด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>13.
ส่งเสริมความสัมพันธ์หรือการบูรณาการระหว่างวิชาที่เรียนกับวิชาอื่น ๆ ในหลักสูตร
เช่น <br>
สอนภาษไทยก็สอนให้สัมพันธ์กับสังคมศึกษา ศิลปศึกษา ดนตรี และนาฏศิลป์</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>14. มีการสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะแก่การเรียนรู้ตามบทเรียนที่สอน
ทั้งในแง่ของสิ่งแวดล้อมและอารมณ์ของผู้เรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>15.
สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (</span>Child Center) <span lang=TH>ในการจัดกิจกรรมต่าง
ๆ ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของสอนจะเป็นเพียงผู้คอยให้ความช่วยเหลือแนะนำ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>16.
สอนโดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้มากที่สุด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>17.
สอนตามกฎแห่งการเรียนรู้โดยจัดบทเรียนให้เหมาะสมกับวัย
ความสามารถและประสบการณ์เดิมของผู้เรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>18.
สอนโดยส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามแบบประชาธิปไตย โดยสามารถแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ <br>
และฝึกให้ผู้เรียนรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
อีกทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการวางแผนงานร่วมกับผู้สอน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'>&nbsp;</p>
 
<h3><span lang=TH>1.5 องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>กรัณย์พล
วิวรรธมงคล (</span><span style='color:black'>2553<span lang=TH>) และ ชัยรัตน์
บุมี (2557) กล่าวถึง </span></span><span lang=TH>องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนประกอบด้วย
</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>1.
มาตรฐานการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้ครูสอนได้ตามสิ่งที่หลักสูตรกําหนดไว้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>2.
สาระการเรียนรู้ที่เป็นไปตามหลักสูตร</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>3.
นักเรียนโดยพิจารณาพื้นความรู้เพิ่มและรูปแบบการเรียนรู้ของนักเรียน&nbsp; </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>4.
กิจกรรมการเรียนเป็นสิ่งที่ทําให้เกิดการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ประสบการณ์สู่นักเรียน&nbsp;
</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>5.
สื่อการสอนเป็นสิ่งที่ ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เข้าใจได้เร็วขึ้น&nbsp; </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>6.
การวัดผลและประเมินผลเพื่อหาข้อดีข้อด้อย
ความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน&nbsp; </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>7. เวลา
เพื่อกําหนดรูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม&nbsp; </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>8.
บรรยากาศและสถานที่ เป็นแหล่งที่ช่วยให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนและเสริมสร้าง
ระเบียบวินัยแก่นักเรียน&nbsp; </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>9.
จํานวนนักเรียนเพื่อประโยชน์ในการกําหนดรูปแบบกิจกรรมที่เหมาะสม </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>10.
ครูเป็นผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนให้เกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='line-height:
107%'>นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์</span><span lang=TH>
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2557</span>: <span lang=TH>12-13), ศุภลักษณ์ <br>
ทองจีน (2558</span>: 25-26<span lang=TH>) และวิทยา พัฒนเมธาดา (</span>2560: <span
lang=TH>ออนไลน์) กล่าวว่า ผู้สอนเป็นผู้ที่มีความสำคัญในการที่จะแปลมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ที่เป็นตัวหนังสือให้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม
นำสนใจ และมีกระบวนการเรียนรู้หลากหลายวิธีอย่างอิสระ
จะต้องรู้จักเลือกปรับปรุงเทคนิคและวิธีการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้
ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและผู้เรียนโดยไม่ใช้วิธีการเดียว ควรมีการดัดแปลงและ เลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
และเนื้อหาในแต่ละเรื่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้ ดังนั้น
ในการสอนแต่ละครั้งไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาวิชาใดก็ตาม
ควรจะมีองค์ประกอบพื้นฐานของกระบวนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 3 ประการ ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>1. ผู้เรียน ธรรมชาติของผู้เรียนเป็นสิ่งที่ผู้สอนจะต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรก
เกี่ยวกับความสามารถทางสมอง ความถนัด ความสนใจ พัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ
ความต้องการพื้นฐานเป็นสิ่งที่ผู้สอนจะต้องคำนึงถึง และจะละเลยไม่ได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>2.
บรยากาศทางจิตวิทยา บรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้
ผู้สอนเป็นส่วนที่สำคัญและเป็นส่วนหนึ่งที่จะกำหนดบรยากาศในชั้นเรียนให้เป็นไปในรูปแบบที่ต้องการ
ความเป็นประชาธิปไตย <br>
ความเคร่งเครียด ความชื่นบานของผู้เรียน
สิ่งเหล่นี้จะเกิดขึ้นได้โดยผู้สอนเป็นผู้กำหนด แต่ถึงกระนั้นก็ตามบรรยากาศในชั้นเรียนยังมีองค์ประกอบอื่น
ๆ อีกนอกเหนือไปจากตัวผู้สอน คือ ผู้เรียน เข้าชั้นเรียนโดยไม่ได้รับประทานอาหารเช้า
หรืออาหารกลางวัน ผู้เรียนเริ่มเรียนชั่วโมงแรกด้วยความรู้สึกหิวหรือบางครั้งผู้เรียนได้รับสิ่งกระทบกระเทือนใจติดตามมาเนื่องจากความไม่ปรองดองในครอบครัว
เป็นต้น ส่วนทางด้านตัวผู้สอนนั้นอาจจะมีความกดดันจากฝ่ายบริหารหรือจากครอบครัว
เศรษฐกิจ อาหารเช้าก่อนมาสถานศึกษาของผู้สอนมีเพียงน้ำแก้วเดียวเท่านั้น
สิ่งที่นำมาก่อนเหล่านี้เกิดขึ้น ก่อนที่ผู้สอนและผู้เรียนจะมาพบกัน
ซึ่งเป็นสิ่งที่จะบ่งชี้ได้ว่าบรรยากาศทางจิตวิทยาชั้นเรียนที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้จะปรากฏออกมาในรูปแบบใดฃ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับบรรยากาศทางจิตวิทยาในชั้นเรียนปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
จะเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงเงื่อนไขหรือสถานการณ์ว่าผู้เรียนจะประสบความสำเร็จหรือความลัมเหลวต่อกรเรียนรู้
ผู้สอนควรจะคิดถึงผู้เรียนในฐานะเป็นบุคคลหนึ่ง ผู้เรียนมีสิทธิที่จะได้รับความต้องการพื้นฐาน
และผู้สอนจะต้องหากลวิธีที่จะตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของผู้เรียนให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
และผู้สอนควรจะฝึกให้มีความรู้สึกไวต่อความรู้สึกนึกคิดของผู้เรียนเพื่อความสำเร็จแห่งการเรียนรู้
และ<br>
การเจริญเติบโตเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ต่อไป</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>สรุปได้ว่า
การจัดการเรียนรู้ มีองค์ประกอบอยู่ 10 ประการ ได้แก่ 1) มาตรฐานการเรียนรู้ 2)
สาระการเรียนรู้ 3) นักเรียน 4) กิจกรรมการเรียนรู้ 5) สื่อการเรียนรู้ 6) การวัดผลและประเมินผล
7) เวลา<br>
8) บรรยากาศและสถานที่ 9) จํานวนนักเรียน และ 10) ครู ทั้งนี้จะต้องมีดำเนินอย่างเป็นกระบวนการ
<br>
ซึ่งกระบวนการเรียนรู้นั้น ประกอบด้วย 3 ประการ ได้แก่ 1) ผู้เรียน 2) บรยากาศทางจิตวิทยา
และ 3) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้มีความสัมพันธ์กัน
หากขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจจะทำให้ไม่มีประสิทธิภาพ<br>
ในการจัดการเรียนรู้</span></p>
 
<span lang=TH style='font-size:16.0pt;line-height:107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif'><br
clear=all style='page-break-before:always'>
</span>
 
<p class=MsoNormal align=left style='margin-bottom:8.0pt;text-align:left'><span
lang=TH>&nbsp;</span></p>
 
<h2>2<span lang=TH>. ทฤษฎีการเรียนรู้</span></h2>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><span lang=TH>ทฤษฎีการเรียนรู้คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ความคิด คนสามารถ เรียนได้จาก<br>
การได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน
เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียน<br>
ในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้ จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอน<br>
นำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้
ที่จะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้ เช่น ความเป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน
หรือความไม่มีระเบียบวินัย สิ่งเหล่านี้ผู้สอนจะเป็นผู้สร้าง เงื่อนไข
และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน นักจิตวิทยาในปัจจุบันทั้งอดีตและปัจจุบันได้นำเรื่องการเรียนรู้มาทำการศึกษากันอย่างกว้างขวาง
จากมุมมองของนักจิตวิทยาในเรื่องการเรียนรู้แต่ง ต่างกัน จึงทำให้ทฤษฎีการเรียนรู้ขึ้นมาหลายทฤษฎี
ซึ่งในแต่ละทฤษฎีจะมีแนวคิดและกระบวนการเรียนรู้แตกต่างกันไป (ศุภลักษณ์ ทองจีน,
2558</span>: 8<span lang=TH>) ทั้งนี้ผู้เขียนขอนำเสนอทฤษฎีการเรียนรู้ </span>3 <span
lang=TH>กลุ่ม คือ 1) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
และ 3) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม</span></p>
 
<h3><span lang=TH>2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (</span>Behaviorist)</h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH>2.1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(</span>Classical Conditioning<span lang=TH> </span>Theory of Learning)&nbsp; </b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>ศศิธร เวียงวะลัย (2556</span>:
209<span lang=TH>) กล่าวว่า ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไแบบคลาสสิก <br>
เป็นแนวคิดของพาฟลอฟ (</span>Ivan Pavlop) <span lang=TH>นักสรีระวิทยชาวรัสเซียที่มีความเชื่อว่าพฤติกรรมที่เกิดจากการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกได้มักเป็นพฤติกรรม
หรือการตอบสนองที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนอันมีพื้นฐานมาจกการทำงนของระบบประสาทอัตในมัติ
เช่น การเห็นมะม่วงแล้วเกิดมีการหลั่งของน้ำลาย หรือมีน้ำลายสอ การทำงานของต่อมต่าง
ๆ ในร่างกาย การทำงานของระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ พฤติกรรมการตอบสนองในการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเองตามรรรมชาติเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเหล่านี้เรียกว่า
พฤติกรรมตอบสนองหรือพฤติกรมที่เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ
พาฟลอฟเชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากกรวางเงื่อนไข (</span>Conditioning)
<span lang=TH>กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้าหนึ่งมักมีเงื่อนไขหรือสถานการณ์เกิดขึ้น
ซึ่งในสภาพปกติหรือในชีวิตประจำวันการตอบสนองชนนั้นอาจไม่มี เช่น
กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระติ่งและน้ำลายไหล เสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข
(เพราะโดยปกติเสียงกระดิ่งไม่มีผลทำให้สุนัขลายไหล
แต่คนต้องการให้สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง) พาฟลอฟเรียกว่า <br>
สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (</span>Conditioned Stimulus<span lang=TH>) และปฏิกิริยาน้ำลายไหลเป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการตอบสนอง</span><br>
<span lang=TH>ที่มีเงื่อนไข (</span>Conditioned Response)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'>&nbsp;</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>ทั้งนี้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้<br>
เป็นอย่างดี ดังที่ ชาติชาย ม่วงปฐม (2557</span>: <span lang=TH>30) กล่าวไว้ว่า ผู้สอนสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้กับสิ่งผู้เรียนชอบ
สนใจเขาสามารถจะสมารถเรียนรู้ได้ดี เช่น ผู้เรียนไม่ชอบคณิตศาสตร์ แต่ชอบเกม <br>
ชอบคอมพิวเตอร์ เมื่อเรานำคณิตศาสตร์ไปสอนโดยเกม
โดยคอมพิวเตอร์จะทำให้ผู้เรียนสนใจคณิตศาสตร์ และเรียนรู้ได้ดีขึ้น ซึ่งสรุปการนำไปใช้ได้ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'>1. <span lang=TH>การนำความต้องการทางรรมชาติของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้าช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'>2. <span lang=TH>การจัดการเรียนการสอนโดยนำเสนอบทเรียนต่าง
ๆ ที่เชื่อมโยงสิ่งที่ผู้เรียนชอบและสนใจ <br>
เช่น การเล่นเกม การแข่งขัน คอมพิวเตอร์ การศึกษานอกสถานที่
จะทำให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจและเกิดการเรียนรู้ได้ดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'>3. <span lang=TH>การจัดการเรียนการสอนโดยจัดวางบทเรียนหรือสิ่งที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกันอย่างต่อเนื่องกัน
จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้นเนื่องจากมีการถ่ายโยงประสบการณ์ที่มีลักษณะคล้ายกัน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'>4. <span lang=TH>การเสนอสิ่งเร้าที่ชัดเจนสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และตอบสนองได้ดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH>2.1.2
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (</span>Operant Conditioning<span
lang=TH>)</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>ชาติชาย ม่วงปฐม
(2557</span>: <span lang=TH>34) กล่าวว่า สกินเนอร์ (</span>Skinner) <span
lang=TH>เป็นผู้ทดลองและอธิบายทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (</span>Operant
Conditioning Theory) <span lang=TH>โดยนำหนูที่หิวใส่กรงทดลอง
เมื่อหนูกดกระดานจะมีอาหารหล่นออกมาเม็ดหนึ่ง
ถ้ากดอีกก็จะหล่นมาอีกครั้งครั้งละเม็ด เม็ดอหารซึ่งกลายเป็นตัวแรงเสริมกำลัง (</span>Reinforcer)
<span lang=TH>สกินเนอร์ให้ความเห็นว่าพฤติกรรมของคนนั้น จะมี 2 แบบคือ พฤติกรรมซึ่งเกิดเนื่องจากถูกสิ่งเร้าดึงออกมา
(</span>Response Behavior) <span lang=TH>เช่น การตอบสนองของสุนัขในการทดลองของฟาฟลอฟ
และพฤติกรรมที่อินทรีย์ส่งออกมาเอง (</span>Operant Behavior) <span lang=TH>เป็นอาการกระทำของอินทรีย์ต่อสิ่งแวดล้อมต่าง
ๆ เช่น การพูด<br>
การกิน การทำงาน เป็นตัน โดยสรุปการเรียนรู้ตามทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำไว้ ดังนี้ฃ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>1) การกระทำใดๆ
เมื่อได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีกส่วนการกระทำที่ไม่มีการเสริมแรงจะมีแนวโน้มลดลง
และหายไปในที่สุด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>2) การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยน
ไม่ซ้ำเดิมตลอดเวลาทำให้การตอบสนอง คงทนกว่าการเสริมแรงแบบตายตัว</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>3) การลงโทษทำให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>4) เมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรมที่ต้องการแล้วได้รับแรงเสริมหรือรางวัลทำให้สามารถปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>แนวคิดสำคัญตามทฤษฎีของสกินเนอร์คือการเสริมแรง
เมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำกิจกรรม<br>
ต่าง ๆ การเสริมแรงจะก่อให้เกิดพลัง แรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรม
แนวคิดนี้ได้นำมาฝึกสัตว์ต่าง ๆ เช่น <br>
การฝึกสุนัข ฝึกปลาโลมา ฝึกม้า เป็นต้น และนำมาใช้พัฒนาการเรียนรู้ของคนเราได้อย่างดี
เมื่อได้รับแรงสริมจากผลการแสดงพฤติกรรม คนเราจะเกิดแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้อีก
การนำทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
ดังที่ ชาติชาย ม่วงปฐม (2557</span>: <span lang=TH>34) กล่าวไว้ สามารถสรุปได้ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>1. การจัดการเรียนการสอนควรให้การเสริมแรงหลักการตอบสนองที่เหมาะสมของผู้เรียนจะช่วยเพิ่มอัตราการตอบสนองที่เหมาะสมนั้น
ๆ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>2.
การเปลี่ยนรูปการเสริมแรง
หรือการเสริมแรงที่เว้นระยะอย่างไม่เป็นระบบจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวรขึ้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>3. การเสริมแรงมี 2
ชนิด คือ ตัวเสริมแรงทางบวก เช่น คำชมเชย อาหาร การยอมรับ และ<br>
ตัวเสริมแรงทางลบ เช่น คำตำหนิ กรลงโทษ ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน เชื่อว่าตัวเสริมแรงทางบวกได้ผลดีกว่าการเสริมแรงทางลบ
จึงควรงดใช้วิธีการเสริมแรงทางลบที่รุนแรง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>รวมถึง ศศิธร
เวียงวะลัย (2556</span>: 2<span lang=TH>11) ได้กล่าวถึง การนำทฤษฎีการวางเงื่อนไขมาประยุกต์<br>
ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>1. มีการดูแลอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและสร้างนิสัยที่ดีให้แก่เด็กเพื่อการสร้างคุณภาพแห่งชีวิต</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>2.
ต้องลบนิสัยที่ไม่ดีออกจากตัวเด็กโดยวิธีการปรับพฤติกรรม (</span>Shaping
Behavior)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>3. มีการอบรมสั่งสอนและปลูกฝังค่านิยมพื้นฐานให้แก่เด็ก</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>4.
ต้องให้คำยกย่องชมเชย หรือให้รางวัลแก่เด็กที่กระทำความดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>5. จัดให้มีการประกวดเด็กดีเด่นในด้านต่าง
ๆ และให้รางวัลตามความ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>6.
ประยุกต์ใช้ในการสร้างบทเรียนสำเร็จรูป</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH>2.1.3
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>ศศิธร เวียงวะลัย
(2556</span>: 2<span lang=TH>11-212) และ ชาติชาย ม่วงปฐม (2557</span>: <span
lang=TH>30-31) กล่าวว่า ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของ ธอร์นไดค์ (</span>Thom dike) <span
lang=TH>ลักษณะสำคัญของทฤษฎีสัมพันธ์เชื่องโยงของธอร์นไดด์ มีดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>1. ลักษณะการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
(</span>Trial and Error)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>2. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ได้คิดกฎการเรียนรู้ที่สำคัญ 3 กฎด้วยกัน คือ กฎแห่ง<br>
ความพร้อม (</span>Law of Readiness) <span lang=TH>กฎแห่งการฝึกหัด (</span>Law
of Exercise)<span lang=TH> และกฎแห่งผล (</span>Law of Effect) <span lang=TH><br>
ดังรายละเอียดต่อไปนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:94.5pt'><span lang=TH>1) กฎแห่งความพร้อม
กฎนี้มีความสำคัญสรุปได้ว่าเมื่อบุคคลพร้อมที่จะทำแล้วได้ทำเขาย่อมเกิดความพอใจ
แต่ถ้าบุคคลพร้อมที่จะทำแล้วไม่ได้ทำเขาย่อมเกิดความไม่พึงพอใจในขณะเดียวกันเมื่อบุคคลไม่พร้อมที่จะทำแต่เขาต้องทำเขาย่อมเกิดความไม่พอใจ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:94.5pt'><span lang=TH>2) กฎแห่งการฝึกหัด
แบ่งเป็น 2 กฎย่อย คือ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:108.0pt'><span lang=TH>2.1)
กฎแห่งการได้ใช้ (</span>Law of Use) <span lang=TH>หมายถึง
พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ลงมือทำบ่อย
ๆ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:108.0pt'><span lang=TH>2.2)
กฎแห่งการไม่ได้ใช้ (</span>Law of Disuse) <span lang=TH>หมายถึง
พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะอ่อนกำลังลเมื่อไม่ได้กระทำอย่างต่อเนื่อง
มีการขาดตอนหรือไม่ได้ทำบ่อย ๆ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:94.5pt'><span lang=TH>3) กฎแห่งผล กฎนี้นับว่าเป็นกฎที่สำคัญและได้รับความสนใจจาก
ธอนไดค์มาที่สุด <br>
กฎนี้หมายความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง จะเข้มแข็งหรืออ่อนกำลังย่อมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัลจะมีผลพันระส่งเร้าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น
ส่วนการทำโทษนั้นจะไม่มีผลใด ๆ ต่อความเข้มแข็งหรือการอ่อนกำลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:85.5pt'><span lang=TH>3. การถ่ายโอนการเรียนรู้
(</span>Transfer of Learning) <span lang=TH>จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อการเรียนรู้หรือกิจกรรมในสถานการณ์หนึ่ง
ส่งผลต่อการเรียนรู้หรือกิจกรรมในอีกสถานการณ์หนึ่ง การส่งผลนั้นอาจจะอยู่ในรูปของ<br>
การสนับสนุนหรือส่งเสริมให้สามารถเรียนได้ดีขึ้น ซึ่งเป็นการถ่ายโอนทางบวก
หรืออาจเป็นการขัดขวางทำให้เรียนรู้หรือประกอบกิจกรรมอีกอย่างหนึ่งได้ยากหรือช้าลง
เป็นการถ่ายโอนทางลบก็ได้ การถ่ายโอนการเรียนรู้นับว่าเป็นพื้นฐานของการเรียนการสอน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:85.5pt'><span lang=TH>ศศิธร เวียงวะลัย
(2556</span>: <span lang=TH>212) ได้กล่าวถึง การนำหลักการทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของ
<br>
ธอร์นไดค์ ไปใช้ในการเรียนการสอนนั้น ธอร์นไดค์เน้นอยู่เสมอว่าการสอนในชั้นเรียนต้องกำหนดจุดมุ่งหมาย<br>
ให้ชัดเจน การตั้งจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนก็หมายถึง การตั้งจุดมุ่งหมายที่สังเกตการตอบสนองได้
และครูจะต้องจัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วย ๆ ให้เขาเรียนทีละหน่วย
เพื่อที่ผู้เรียนจะได้เกิดความรู้สึกพอใจในผลที่เขาเรียน<br>
ในแต่ละหน่วยนั้น ธอร์นไดค์ย้ำว่าการสอนแต่ละหน่วย ก็ต้องเริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยากเสมอ
การสร้างแรงจูงใจนับว่าสำคัญมากเพราะจะทำให้ผู้เรียนเกิดความพอใจเมื่อได้รับสิ่งที่ต้องการหรือรางวัล
รางวัลจึงเป็นสิ่งควบคุมพฤติกรรมของผู้เรียน นั่นก็คือในขั้นแรกครูจึงต้องสร้างแรงจูงใจภายนอกให้กับผู้เรียน
ครูจะต้องรู้ผลการกระทำหรือผลการเรียน เพราะการรู้ผลจะทำให้ผู้รียนทราบว่าการกระทำนั้นถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง
ดีหรือไม่ดี พอใจหรือไม่พอใจ
ถ้าการกระทำนั้นผิดหรือไม่เป็นที่พอใจเขาก็จะได้รับการแก้ไข ปรับปรุงให้ถูกต้อง เพื่อที่จะได้รับสิ่งที่เขาพอใจต่อไป</span></p>
 
<span lang=TH style='font-size:16.0pt;line-height:107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif'><br
clear=all style='page-break-before:always'>
</span>
 
<p class=MsoNormal align=left style='margin-bottom:8.0pt;text-align:left'><span
lang=TH>&nbsp;</span></p>
 
<h3><span lang=TH>2.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม </span>(Cognitivist)</h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH>2.2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลต์</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>ชาติชาย ม่วงปฐม
(2557</span>: 35-36<span lang=TH>) และศุภลักษณ์ ทองจีน (2558</span>: <span
lang=TH>12-13) กล่าวว่า ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลต์ (</span>Gestalt Theory) <span
lang=TH>มีนักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงคือ เวอร์ไรเมอร์ (</span>Wertheimer) <span
lang=TH>เลวิน (</span>Lewn) <br>
<span lang=TH>โคเลอร์ (</span>Kohler) <span lang=TH>และคอฟกา (</span>Koffka) <span
lang=TH>ได้เสนอแนวคิด หลักว่าการเรียนรู้ที่ดีย่อมเกิดจกการจัดสิ่งเราต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการรับรู้
(</span>Perception) <span lang=TH>ในส่วนรวมก่อน แล้วจึงแยกวิเคราะห์เพื่อการเรียนรู้ส่วนย่อยที่ละส่วน
โดยส่วนรวมไม่ใช่เป็นเพียงผลรวมของส่วนย่อยแต่ส่วนรวมเป็นสิ่งที่มีมากกว่าผลรวมของส่วนย่อย
(</span>The Whole is more than the sum of the part) <span lang=TH>และการเรียนรู้ของคนจะเป็นแบบการหยั่งเห็น
(</span>Insight) <span lang=TH>คือการค้นพบหรือเกิดความเข้าใจในการแก้ปัญหาอย่างฉับพลันทันทีอันเนื่องมาจากผลการรับรู้ในภาพรวม
และใช้กระบวนการทางความคิดและสติปัญญาเพื่อหาคำตอบ
การเรียนรู้จึงเป็นการแก้ปัญหาชนิดหนึ่ง
ความสามารถในการแก้ปัญหานี้ขึ้นอยู่กับความสามารถหยั่งเห็น (</span>Insight) <span
lang=TH>ของบุคคล ซึ่งสามารถสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>1) การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิด
ที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>2) บุคคลจะเรียนรู้จกสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>3) บุคคลมีความสามารถในการรับรู้ต่างกัน
การรับรู้นี้อาจเกิดการรับรู้ ตามสภาพความเป็นจริงหสภาพของสิ่งเร้าต่าง ๆ ก็ได้
แต่การรับรู้นั้น ๆ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน การรับรู้เพียงส่วนใดส่วนหนึ่งจะไม่ทำให้เข้าใจในอีกส่วนหนึ่งได้
โดยเฉพาะการรับรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความข้าใจทั้งหมดนั้น
จะต้องรับรู้เป็นส่วนรวมทั้งหมดเสียก่อน แล้วจึงมาพิจารณาส่วนย่อยเป็นส่วน ๆ
การรับรู้ในลักษณะเช่นนี้จะทำให้เกิดความเข้าใจสถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>4) ประสบการณ์เดิมมีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคล
การรับรู้ของบุคคลต่อสิ่งเร้าเดียวกันอาจแตกต่างกันได้
เพราะการใช้ประสบการณ์เดิมมารับรู้สิ่งเร้าส่วนรวมและส่วนย่อยต่างกัน
เรียกว่ากฎการรับรู้ส่วนรวมและส่วนย่อย (</span>Law of Pregnant)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>5) สิ่งเราใดที่มีลักษณะเหมือนกัน
หรือคล้ายคลึงกัน บุคคลมักรับรู้เป็นพวกเดียวกัน เรียกว่า<br>
กฎแห่ความคล้ายคลึง (</span>Law of Similarity)<span lang=TH> </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>6) สิ่งเราใดที่มีความใกล้เคียงกันบุคคลมักรับรู้เป็นพวกเดียวกันเรียกว่ากฎแห่งความใกล้เคียง
(</span>Law of Proximity)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>7.
สิ่งเร้าที่บุคคลรับรู้แม้จะยังไสมบูรณ์ แต่บุคคลสามารถรับรู้ในลักษณะสมบูรณ์ได้
ถ้าบุคคลมีประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับสิ่งเร้านั้น เรียกว่ากฎแห่งความสมบูรณ์ (</span>Law
of Closure)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>8) สิ่งเร้าที่มีความต่อเนื่องกัน
หรือมีทิศทางไปในแนวเดียวกัน บุคคลมักรับรู้เป็นพวกเดียวกัน หรือเรื่องเดียวกันเรียกว่ากฎแห่งความต่อเนื่อง
(</span>Law of Contiguity)</p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>9) บุคคลรับรู้สิ่งเร้าในภาพรวมแล้วจะมีความคงที่ในการรับรู้สิ่งนั้นในลักษณะเป็นภาพรวม<br>
แม้สิ่งเร้านั้นจะได้เปลี่ยนแปลงไปเมื่อรับรู้ในแง่มุมอื่น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>10) การรับรู้ของบุคคลอาจผิดพลาดบิดเบือนจากความเป็นจริงได้เนื่องมาจากลักษณะของการจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่ทำให้เกิดภาพลวงตา</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>ซึ่งการนำทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลต์
ไปใช้ในการเรียนการสอนนั้น สามารถสรุปได้ดังนี้ ในการนำทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลต์ไปประยุกต์ใช้
สรุปได้ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>1) การจัดการเรียนการสอนให้นำเสนอส่วนรวมให้ผู้เรียนเห็นรับรู้และทำความเข้าใจก่อนเสนอส่วนย่อยจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>2)
การจัดเนื้อหาทเรียนควรจัดให้มีความต่อเนื่องกัน
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีและรวดเร็ว</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH>3) จัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย
จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาและคิดริเริ่มได้มากขึ้น
และเกิดการเรียนรู้แบบหยั่งเห็นมากยิ่งขึ้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:36.0pt'><b><span
lang=TH>2.2.2 ทฤษฎีสนามของเลวิน</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>ชาติชาย ม่วงปฐม (2557</span><span style='color:black'>: <span
lang=TH>37) และศุภลักษณ์ ทองจีน (2558</span>: <span lang=TH>14) กล่าวว่า ทฤษฎีสนามของเลวิน
(</span>Lewin) <span lang=TH>นำแนวคิดของเกสตัลต์พัฒนาเป็นทฤษฎีสนาม (</span>Field
Theory)<span lang=TH> โดยอธิบายว่าแต่ละบุคคลมีสนามชีวิตซึ่งเป็นโลกของชีวิต
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นประกอบด้วยตัวบุคคล </span>(Person) <span lang=TH>และสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา
(</span>Psychological Environment) <span lang=TH>โดยมีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมทาสัดมอยู่รอบตัว
บุคคลจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อสภาพแวดล้อมมีความสอดคล้องกับสภาพความต้องการ
หมาะสมกับความสามารถ และความสนใจ
การที่บุคคลมีสนามชีวิตที่จดจ่อกับบทเรียนโดยมีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมย่อมเกิดการเรียนรู้ที่ดี
ซึ่งสามารถสรุปการเรียนรู้ของทฤษฎีสนามของเลวิน ได้ดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>1. พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทาง
สิ่งที่สนใจและเป็นความต้องการจะเป็นพลังทางบวก <br>
สิ่งที่อยู่ภายนอกความสนใจและความต้องการจะเป็นพลังทางลบ ในชีวิตคนเราขณะใดขณะหนึ่งจะมีอวกาศชีวิต
(</span><span style='color:black'>Life Space) <span lang=TH>โดยอวกาศชีวิตจะประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
และสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทย <br>
การที่ผู้เรียนอยู่ในสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
และทางจิตวิทยาที่เหมาะสมจะส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span
style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>2. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทำให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>3. บุคคลจะเกิดการเรียนรู้เมื่อมีสมาธิจดจ่อกับบทเรียน
สิ่งที่เรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>ซึ่งการนำทฤษฎีสนามของเลวิน ไปประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้นั้น
สามารถดำเนินการได้ ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span
style='color:black'>1. <span lang=TH>ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
จำเป็นต้องทำความเข้าใจ &quot;อวกาศชีวิต&quot; ของผู้เรียนว่าผู้เรียนมีความสนใจ
มีความต้องการ ซึ่งเป็นพลังทางบวกอะไรบ้าง มีอะไรเป็นพลังหาลบของผู้เรียน
ทำให้สามารถจัดการเรียนการสอนและสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางจิตวิทยที่เหมาะสมกับผู้เรียนทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span
style='color:black'>2. <span lang=TH>การสร้างแรงจูงใจ การเร้าความสนใจให้ผู้เรียนมีสมาธิจดจ่อกับการเรียน
กับบทเรียนจะทำให้เกิดการเรียนรู้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:36.0pt'><b><span
lang=TH>2.2.3 ทฤษฎีปัญญาของเพียเจต์</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>ชาติชาย ม่วงปฐม (2557</span><span style='color:black'>: 39<span
lang=TH>) และศุภลักษณ์ ทองจีน (2558</span>: 15<span lang=TH>) กล่าวว่า ทฤษฎีปัญญาของเพียเจต์
อธิบายการเรียนรู้ของคนว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นโดย การกระทำตามแนวคิดของ
ดิวอี้และค้นพบว่า ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาการด้านสติปัญญาและ ความคิดนั้น คือ
การที่บุคคลได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมาแต่แรกเกิด
และผลจากการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมนี้ ทำให้เด็กรู้จัก &quot;ตน&quot;
ซึ่งแต่เดิมที่เด็กไม่สามารถแยก &quot;ตน&quot;
ออกจากสิ่งแวดล้อมได้ระดับสติปัญญาและความคิดของเด็กพัฒนาจากการปฏิสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกับสิ่งแวดล้อม
การปฏิสัมพันธ์นี้ หมายถึง กระบวนการปรับตัวของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก และการจัดแจงรวบรวมภายใน
(</span>Inward Mental Organization) <span lang=TH>ป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง
ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (</span>Adaptation) <span lang=TH>เพื่อให้สมดุลกับสิ่งแวดล้อม
การปฏิสัมพันธ์ และการปรับปรุงนี้ประกอบด้วย กระบวนการสำคัญ 2 กระบวนการ ได้แก่</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH>1.
การกลมกลืนหรือการดูดซึมสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ตน (</span>Assimilation)<span lang=TH>
หมายถึง กระบวนการที่อินทรีย์ได้ดูดซึมภาพต่าง ๆ ของสิ่งแวดล้อมด้วยประสบการณ์ของตนเอง
และขึ้นอยู่กับความสามารถของอินทรีย์จะรับรู้ได้มากน้อยเพียงไร </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH>2.
การปรับความแตกต่างเพื่อให้เข้ากับความเข้าใจ ระหว่างความรู้เดิม และประสบการณ์ใหม่จากสิ่งแวดล้อม
(</span>Accommodation) <span lang=TH>ซึ่งเป็นกระบวนการที่ต้องใช้ความสามารถสูงกว่า
กระบวนการดูดซึม เกิดจากบุคคลได้รับสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปจากสิ่งที่เคยประสบ
จะมีวิธีการรวบรวมจัดแจงสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
และความคิดให้ตรงกับสภาพที่เป็นจริงของสิ่งแวดล้อม เช่น เมื่อถามเด็กอายุ 5-6 ขวบ
มีเข้าใจความแตกต่างระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย โดยสามารถบอกได้เฉพาะสิ่งที่ปรากฎภายนอกได้
เช่น ผู้ชายผมสั้น ผู้หญิงผมยาว ผู้ชายสวมกางเกง ผู้หญิงสวกระโปรง เป็นต้น
แต่ถ้าหากเรานำตุ๊กตาที่มีผมยาว และนุ่งกางเกง แล้วถามเด็ก ว่าเป็นเพศใด
เด็กก็จะบอกได้ว่าเป็นตุ๊กตาผู้หญิง
นี่แสดงว่าเด็กสามารถปรับความแตกต่างเพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ และนอกจากนี้แล้ว
เด็กคนนั้นก็ยังมีความคิดอีกว่า เด็กผู้หญิงสามารถ<br>
นุ่งกางเกงได้ ซึ่งเป็นกระบวนการปรับสิ่งแวดล้อมเข้าเป็นความรู้ใหม่
โดยการเปลี่ยนความเข้าใจเดิมนั่นเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>ซึ่งการนำทฤษฎีปัญญาของเพียเจต์ ไปประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้
สามารถดำเนินการ ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>1. การจัดการเรียนการสอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์
และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมาก ๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลต่าง ๆ
เข้าสู่โครงสร้างทางสติปัญญา</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>2. การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งหมายให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนง่ายขึ้น
ควรจัดประสบการณ์ที่เป็นความรู้ใหม่ที่สอดคล้องกับความเดิม</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span lang=TH
style='color:black'>3. การส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียนควรให้ผู้เรียนเกิดความขัดแย้งทางปัญญา
เกิดความสงสัย ต้องการศึกษา ค้นคว้า ทดลองเพื่อหาคำตอบ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:18.0pt;text-indent:63.0pt'><span
style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<h3><span lang=TH style='color:black'>2.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม </span><span
style='color:black'>(Humanist)</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH>2.3.1 <span
style='color:black'>ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิด โรเจอร์ส (</span></span><span
style='color:black'>Rogers)</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ชาติชาย
ม่วงปฐม (2557</span><span style='color:black'>: <span lang=TH>42-43)
และศุภลักษณ์ ทองจีน (2558</span>: 1<span lang=TH>7-18) ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิด
โรเจอร์ส (</span>Rogers) <span lang=TH>เป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎี ให้ความสำคัญของลักษณะตัวบุคคลมากกว่าสิ่งแวดล้อม<br>
โรเจอร์ส มีแนวคิดในเรื่องบูรณาการและศักยภาพของคน ถ้าศักยภาพของคนได้รับการบูรณาการหรือพัฒนาสมบูรณ์อย่างเต็มที่แล้ว
คนก็จะสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างสมบูรณ์ โรเจอร์สเสนอว่าผู้ให้คำปรึกษาเป็นผู้ช่วยให้การงอกงามและพัฒนาการเป็นไปได้ง่ายขึ้น
นั้นเปรียบเสมือนกับผู้สอนเป็นผู้ช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนนั้นง่ายโดยใช้วิธีการทางอ้อม
(</span>Nondirective) <span lang=TH>หรือผู้รับบริการเป็นจุดศูนย์กลาง (</span>Client
Centered) <span lang=TH>โดยมีหลักการ ดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
มนุษย์มีศักยภาพตามธรรมชาติสำหรับเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
การเรียนรู้ที่สำคัญจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนเห็นว่าสิ่งที่เรียนมีความสัมพันธ์
กับวัตถุประสงค์สำหรับการเรียนการสอน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการจัดระเบียบตัวเองเมื่อมโนภาพ
ของตัวเองดูน่ากลัวผู้เรียนจะต่อต้าน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>4.
ถ้าใช้การขู่บังคับภายนอกให้น้อยที่สุดการเรียนรู้จะเป็นไปด้วยดีผู้เรียนจะยอมรับ
และดูดซึมเข้าไปได้ง่าย</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>5.
ถ้าความน่ากลัวของผู้เรียนต่ำ ผู้เรียนจะรับประสบการณ์ด้วยวิธีต่าง ๆ
และการเรียนรู้ก็ดำเนินไปได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>6.
การเรียนรู้ที่สำคัญส่วนมากได้มาจากการลงมือทำ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>7.
การเรียนรู้จะง่ายขึ้น ถ้าผู้เรียนมีส่วนรับผิดชอบในกระบวนการเรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>8.
การเรียนรู้ด้วยตนเองของบุคคล เป็นการเรียนรู้ที่ทำให้เกิดความคงทน ถาวร ทั้งด้านความรู้สึกและสติปัญญา</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>9.
การพึ่งตนเอง ความคิดริเริ่ม ความเชื่อตนเอง จะได้รับการพัฒนาง่าย
ขึ้นเมื่อเน้นการวิจารณ์ตนเอง และการประเมินตนเองเป็นสำคัญ
และการประเมินโดยคนอื่นถือ เป็นรอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>10.
การเรียนรู้ที่มีประโยชน์ทางสังคมมากที่สุดในโลกปัจจุบัน คือ การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้
การเปิดรับประสบการณ์อยู่เสมอ การเรียนรู้ด้วยเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ชาติชาย
ม่วงปฐม (2557</span><span style='color:black'>: <span lang=TH>43) กล่าวว่าการนำทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดโรเจอร์ส
(</span>Rogers) <span lang=TH><br>
ไปประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้ สามารถดำเนินการ ดังนี้ </span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
การจัดสภาพการเรียนการสอนที่มีบรรยากาศที่อบอุ่น ปลอดภัย น่าไว้วางใจ จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
ผู้เรียนมีศักยภาพและแรงจูงใจที่จะเรียนรู้อยู่ในตน ผู้สอนเป็นผู้อำนวย ความสะดวก
ชี้แนะ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
การจัดการเรียนการสอนควรเน้นการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเป็นสำคัญ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>4.
การจัดการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้รับผิดชอบในการทำงานในการสร้างงานด้วยตนเอง
รวมทั้งให้ผู้เรียนได้มีโอกาสประเมินผลงานของตนเอง ประเมินการเรียนรู้ด้วยเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>2.3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดนีล</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ชาติชาย
ม่วงปฐม (2557</span><span style='color:black'>: <span lang=TH>44) และศุภลักษณ์
ทองจีน (2558</span>: <span lang=TH>19) นีล (</span>Neil) <span lang=TH>ให้ความสำคัญว่ามนุษย์เป็นผู้มีศักดิ์ศรี
มีความดีโดยธรรมชาติหากมนุษย์อยู่ในสภาพแวดล้อมที่อบอุ่น บริบูรณ์ไปด้วยความรัก <br>
มีอิสรภาพและเสรีภาพ มนุษย์พัฒนาไปในทางที่ดีทั้งต่อตนเองและสังคม
การเรียนการสอนตามแนวคิดของนีล เน้นให้การสร้างบรรยากาศแห่งความรักและความอบอุ่น
เน้นอิสรภาพเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงศักยภาพ และทัศนะต่าง ๆ ด้วยตนเอง
แนวคิดของกลุ่มมนุษยนิยม อธิบายเกี่ยวกับการเรียนการสอน พอสรุปได้ดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
การเรียนที่ดีจะเกิดขึ้นในบรรยากาศที่อบอุ่น เป็นกันเอง มีการยอมรับซึ่งกันและกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนตั้งอยู่บนรากฐานของการยอมรับซึ่งกันและกัน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันก าหนดจุดมุ่งหมายและกิจกรรมการเรียนการสอน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
ผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลางการเรียนการสอน
ผู้สอนเป็นเพียงผู้สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศการเรียนการสอนที่ดี
บทบาทของผู้สอนเป็นเพียงผู้ให้คำปรึกษาและให้คำแนะนำ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>4.
วิธีการเรียนรู้มีหลายรูปหลายแบบและหลายกิจกรรม แต่ละคนก็เลือกเรียนตามความสนใจ
ผู้สอนไม่ควรกำหนดกิจกรรมไว้อย่างแน่นอน
เป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นของตนเองได้อย่างเสรี
และตามระดับพัฒนาการของตน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>5.
สมรรถภาพของแต่ละบุคคล ตลอดจนการแสดงออกถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียนมีความแตกต่างกัน
การจัดการเรียนการสอนต้องตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>6.
สนับสนุนให้มีการประเมินผลด้วยตนเองเพื่อเสริมพลังการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>7.
กระบวนการเรียนการสอนยึดประสบการณ์เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สรุป
การจัดการเรียนรู้ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ผู้สอนควรศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้
เพื่อเกิดความเข้าใจในลักษณะธรรมชาติของมนุษย์
เพื่อเลือกใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษาของตนเอง
เพราะว่าทฤษฎีการเรียนรู้มีข้อดี ข้อเสีย เฉพาะตัว ผู้สอนจึงต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอมในการนำทฤษฎีมาใช้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'>&nbsp;</p>
 
<h2><span lang=TH>3. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></h2>
 
<p class=MsoNormal>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span
lang=TH>การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือผู้เรียนมีบทบาทที่สำคัญในการเรียนรู้
จะต้องมีแนวคิดพื้นฐานและหลักการในการจัดการเรียนรู้
ทั้งนี้ยังต้องอาศัยครูผู้สอนในการกำหนดแนวทางและคอยอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียน
เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้กับตนเอง โดยในบทนี้ผู้เขียนขอนำเสนอ
ความหมายของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
หลักการพื้นฐานของแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข้อควรคำนึงของครูในการสอน บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></p>
 
<h3>3.1 <span lang=TH>ความหมายของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>ระวิวรรณ&nbsp;
ศรีคร้ามครัน (255</span>3<span lang=TH>) ได้กล่าวว่า การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
หรือที่รู้จักในชื่อเดิมว่า การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (</span>Student
centered <span lang=TH>หรือ </span>Child Centered) <span lang=TH>เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการคิดค้น
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
โดยผู้สอนจะเป็นผู้กำหนดสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมรวมทั้งกำหนดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
บูรณาการกับความรู้และเนื้อหาวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
ซึ่งการกำหนดสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมดังกล่าวจะกระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้
มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งนี้เป็นการเพิ่มพูนทักษะในด้านต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน
เช่น ทักษะในด้านการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ การปรึกษาหารือและการร่วมตัดสินใจ &nbsp;ซึ่งสอดคล้องกับ
ชนาธิป พรกุล (2555) ที่กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง
ผู้เรียนเป็นคนสําคัญที่สุด การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือการให้มีผู้เรียน
มีบทบาทในการเรียนรู้ โดยการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้มากที่สุด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>สรุปได้ว่า
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ
การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการคิดค้น เรียนรู้
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนจะเป็นผู้กำหนดสถานการณ์รวมทั้งสภาพแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ทั้งนี้จะทำให้ผู้เรียนมีทักษะในด้านต่าง ๆ เพิ่มมากยิ่งขึ้น</span></p>
 
<h3>3.2 <span lang=TH>หลักการพื้นฐานของแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ชนาธิป
พรกุล (2555) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เป็นการจัดตามแนวทฤษฎีพุทธินิยม (</span><span style='color:black'>Cognitive
theories) <span lang=TH>ที่เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายในสมอง
เกิดจากกระบวนการจัดกระทํากับข้อมูล มีการบันทึกข้อมูล
และดึงข้อมูลออกมาใช้วิธีเรียนรู้มีผลต่อ การจํา การลืม และการถ่ายโอน (</span>Transfer)
<span lang=TH>ความรู้ แรงจูงใจระหว่างการเรียนรู้มีความสําคัญต่อการชี้นําความสนใจ
มีอิทธิพลต่อ กระบวนการ</span><br>
<span lang=TH>จัดข้อมูล และส่งผลโดยตรงต่อรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน ปัจจุบันแนวคิด
การสรรค์สร้างความรู้ (</span>Constructivism) <span lang=TH>ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายว่ามีความสอดคล้องกับการ
จัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แนวคิดนี้มีความเชื่อว่า
ความรู้เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยตนเอง สามารถเปลี่ยนแปลงและ
พัฒนาให้งอกงามขึ้นได้เรื่อย ๆ โดยอาศัยการพัฒนาโครงสร้างความรู้ภายในบุคคล และการรับรู้สิ่งต่าง
ๆ รอบตัว โครงสร้างของ ความรู้มีองค์ประกอบที่สําคัญ 3 ประการ คือ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1)
ความรู้เดิมที่ผู้เรียนมีอยู่ </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2)
ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนได้รับเป็นข้อมูล ความรู้ ความรู้สึก และประสบการณ์</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3)
กระบวนการทางสติปัญญา เป็นกระบวนการทางสมอง ที่ผู้เรียนใช้ทําความเข้าใจกับความรู้ใหม่
และใช้เชื่อมโยงปรับความรู้เดิมและความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ดังนั้น
ครูที่จัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางจึงมีความเชื่อว่า
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ผู้สอนไม่จําเป็นต้องถ่ายทอดความรู้เนื้อหาสาระแบบเดิม ซึ่งสอดคล้องกับศศิธร
เวียงวะลัย (2556) ที่ได้นำเสนอแนวคิดที่สําคัญในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญและหลักการที่สําคัญของการจัดการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ดังนี้ </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.5pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>1)
แนวคิดที่สําคัญในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ </span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.5pt'><span lang=TH style='color:black'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;
แนวคิดในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นแนวคิดในการจัดประสบการณ์<br>
การเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากที่สุด
และให้ผู้เรียนมีบทบาทมากที่สุดตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้เรียน
และสอดคล้องกับพัฒนาการ ของผู้เรียนแต่ละวัย
ดังนั้นสภาพการเรียนการสอนจึงมีลักษณะผสมผสานด้วยวิธีการสอน ที่หลากหลาย
เพื่อให้ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้า การคิดวิเคราะห์
การแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ
และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยบทบาทของครูเปลี่ยนจากผู้สอนอบรม หรือบอกเล่ามาเป็นให้การสนับสนุน
ชี้แนะแนวทางในการหาแหล่งความรู้ ให้คำปรึกษา
และให้กําลังใจแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.5pt'><b><span style='color:black'>2<span
lang=TH>) หลักการที่สําคัญของการจัดการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ</span></span></b><span
lang=TH style='color:black'> </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.5pt'><span lang=TH style='color:black'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;
แนวคิดของหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญได้ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
กระบวนการที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน<br>
การสอน และรู้จักรับผิดชอบด้วยตนเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
มีการเรียนรู้หรือศึกษาการเรียนรู้ได้จากแหล่งต่าง ๆ มากมายไม่ใช่ศึกษาหาความรู้จากแหล่งเดียว
หรือเพียงในห้องเรียนเท่านั้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ค้นพบด้วยตนเอง </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>4.
เป็นกระบวนการที่มีส่วนช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>5.
เป็นกระบวนการที่มีความสําคัญต่อการเรียนของผู้เรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:81.0pt'><span lang=TH style='color:black'>6.
ผู้เรียนสามารถนําความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับชีวิตจริงของแต่ละ
บุคคล
จากหลักการดังกล่าวจะนําไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองอย่างมีความสุข
โดยครูผู้สอนต้อง ลดบทบาทและปรับเปลี่ยนกระบวนการของตนจากการเป็นผู้บอกความรู้ให้แก่ผู้เรียนมาเป็น
ผู้สนับสนุน ผู้ชี้แนะ
ที่ปรึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนมากที่สุดตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
จัดประสบการณ์ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้ใฝ่เรียน ค้นพบคําตอบด้วยตนเอง
โดยมีครูและนักเรียน ร่วมกันบอกแหล่งความรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.45pt'><span lang=TH>สรุปได้ว่า หลักการพื้นฐานของแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นการจัดตามแนวทฤษฎีพุทธินิยม
(</span>Cognitive theories) <span lang=TH>ที่เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายในสมอง
เกิดจากกระบวนการจัดกระทํากับข้อมูล บันทึกข้อมูล และดึงข้อมูลออกมาใช้
โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้จากครูสู่ผู้เรียน
ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีการฝึกทักษะ ความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยตนเอง
จนนำไปสู่การใช้ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง</span></p>
 
<span style='font-size:16.0pt;line-height:107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif'><br
clear=all style='page-break-before:always'>
</span>
 
<p class=MsoNormal align=left style='margin-bottom:8.0pt;text-align:left'>&nbsp;</p>
 
<h3><span lang=TH>3.2 บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้</span><span lang=TH
style='color:black'>ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ครูที่ดีสำหรับคนยุคใหม่นั้น
ไม่เหมือนการศึกษาเมื่อสิบหรือยี่สิบปีที่แล้ว
การศึกษาที่มีคุณภาพจะต้องเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ของศิษย์ไปอย่างสิ้นเชิงและบทบาทของครูอาจารย์ก็ต้องเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง
<br>
ครูที่รักศิษย์ เอาใจใส่ต่อศิษย์ แต่ยังใช้วิธีสอนแบบเดิม&nbsp; จะไม่ใช่ครูที่ทำประโยชน์แก่ศิษย์อย่างแท้จริง
กล่าวคือ ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ
ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอนไปเป็นเน้นที่การเรียน
(ทั้งของศิษย์ และของตนเอง) ต้องเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ที่ตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย
ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองจาก “ครูสอน” (</span><span
style='color:black'>Teacher) <span lang=TH>ไปเป็น “ครูฝึก” (</span>Coach) <span
lang=TH>หรือ “ผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้” (</span>Learning Facilitator) (<span
lang=TH>วิจารณ์ พานิช</span>, <span lang=TH>2555)</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ผู้สอนในยุคปัจจุบันต้องฝึกฝนผู้เรียนใน
3 เรื่อง ดังนี้&nbsp; ฝึกคิด คือ ฝึกให้ผู้เรียนคิดเองเป็น ฝึกให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า
ศึกษาให้ลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และมีการวิจัยค้นคว้า
และฝึกให้ผู้เรียนบริการสังคม คือ
สิ่งที่เรียนจะมีคุณค่าเมื่อได้ใช้ความรู้นั้นให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม (พิมพ์พันธ์
เดชะคุปต์</span><span style='color:black'>, <span lang=TH>2551) ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
จัดการเรียนการสอนโดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
สร้างและพัฒนานวัตกรรมที่เหมาะสมและสนองตอบกับความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะกระบวนการ (</span><span style='color:black'>Process
Skill) <span lang=TH>คือ กระบวนการคิด (</span>Thinking Process) <span lang=TH>กระบวนการทำงานกลุ่ม
(</span>Group Process) <span lang=TH>และกระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (</span>Construction
Process)</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>4.
ต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน (</span><span style='color:black'>Participation)
<span lang=TH>คือ มีส่วนร่วมด้านปัญญา กาย อารมณ์ และสังคม
รวมทั้งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ (</span>Interaction) <span lang=TH>กับสื่อการสอนและนวัตกรรมที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>5.
ผู้สอนต้องสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้<br>
อย่างมีความสุข</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>6.
ผู้สอนต้องทำการวัดและประเมินผลทั้งทักษะกระบวนการ ขีดความสามารถ
ศักยภาพของผู้เรียน และผลผลิตที่เกิดจากการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการประเมินตามสภาพจริง
(</span><span style='color:black'>Authentic Assessment)</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>7.
ผู้สอนต้องเป็นผู้กระตุ้น
และสนับสนุนให้ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>8.
ผู้สอนต้องเป็นผู้อำนวยความสะดวก (</span><span style='color:black'>Facilitator) <span
lang=TH>คือ ต้องเป็นผู้ที่จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ รวมทั้งสื่อการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียนใช้เป็นแนวทางในการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยผู้สอนสามารถอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียนได้ดังนี้
เป็นผู้นำเสนอ เป็นผู้สังเกต เป็นผู้ถาม เป็นผู้กระตุ้นความสนใจ
เป็นผู้ให้การเสริมแรงทั้งทางบวกและทางลบ เป็นผู้แนะนำ เป็นผู้สะท้อนความคิด
เป็นผู้จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้<br>
เป็นผู้จัดระเบียบ เป็นผู้ตรวจสอบ และเป็นผู้ประเมิน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>นอกจากนั้น
เสกสรรค์ แย้มพินิจ (2556) ได้เสนอบทบาทผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
จัดบรรยากาศการเรียนรู้ให้เหมาะสม
โดยควบคุมกระบวนการการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้และคอยอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนดำเนินงานไปได้อย่างราบรื่น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
แสดงความคิดเห็นและให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนตามโอกาสที่เหมาะสม
(ต้องคอยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนและบรรยากาศการเรียนที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา)</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามแนวทางของหลักการ </span><span
style='color:black'>Constructionism<span lang=TH>โดยเน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นผู้จุดประกายความคิดและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนโดยทั่วถึงกันตลอดจนรับฟังและสนับสนุนส่งเสริมให้กำลังใจแก่ผู้เรียน
ที่จะเรียนรู้เพื่อประจักษ์แก่ใจด้วยตนเอง</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>4.
ช่วยเชื่อมโยงความคิดเห็นของผู้เรียนและสรุปผลการเรียนรู้ตลอดจนส่งเสริมและนำทางให้ผู้เรียนได้รู้วิธีวิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้เพื่อผู้เรียนจะได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH>สรุปได้ว่า
บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้นต้องเปลี่ยนจากครูผู้สอน<br>
มาเป็นผู้ชี้แนะ คอยฝึกให้ผู้เรียนได้คิด ได้ศึกษาและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
และฝึกการบริหารสังคม
ต้องสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนและอำนวยความสะดวกเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนตามความเหมาะสม</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><img width=281
height=210 id="Picture 2" src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image006.jpg"><span
style='color:black'>&nbsp; </span><img width=157 height=210 id="Picture 4"
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image008.jpg"></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><span
style='font-size:5.0pt;line-height:107%;color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span lang=TH
style='color:black'>ภาพที่ </span></b><span style='color:black'>1.3<span
lang=TH> แสดงบทบาทของผู้สอนที่เปลี่ยนจาก “ครูสอน” (</span>Teacher) <span
lang=TH>ไปเป็น “ครูฝึก” (</span>Coach)</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span lang=TH
style='color:black'>ที่มา</span></b><span lang=TH style='color:black'> : ณัฐพงษ์
โตมั่น, </span><span style='color:black'>2563</span></p>
 
<p class=MsoNormal><span style='color:black'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><span lang=TH style='color:black'>&nbsp;&nbsp;
ผู้สอนที่ดีควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน
เน้นวิธีสอนที่หลากหลายให้แก่ผู้เรียนเพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง
ๆ ด้วยตนเอง วิธีสอนที่ผู้สอนสามารถนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน
แสดงดังภาพที่ </span><span style='color:black'>1.4</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='margin-left:36.0pt'><b><span style='color:black'>&nbsp;</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span
style='color:black'><img width=570 height=414 id="Picture 26"
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image010.png"></span></b></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center;line-height:115%'><b><span
lang=TH style='color:black'>ภาพที่ </span></b><span style='color:black'>1.4<b> </b><span
lang=TH>แสดงตัวอย่างวิธีสอนที่ผู้สอนสามารถนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center;line-height:115%'><b><span
lang=TH style='color:black'>ที่มา : </span></b><span lang=TH style='color:black'>ณัฐพงษ์
โตมั่น, </span><span style='color:black'>2563</span></p>
 
<b><span lang=TH style='font-size:16.0pt;line-height:107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif;
color:black'><br clear=all style='page-break-before:always'>
</span></b>
 
<p class=MsoNormal align=left style='margin-bottom:8.0pt;text-align:left'><b><span
lang=TH style='color:black'>&nbsp;</span></b></p>
 
<h3><span lang=TH>3.3 บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้</span><span lang=TH
style='color:black'>ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>กนิษฐ์กานต์
ปันแก้ว และอดิศักดิ์ กำแพงแก้ว (2556) กล่าวว่า
ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนมีบทบาทเป็นผู้ปฏิบัติและสร้างความรู้ด้วยตัวของเขาเอง
(ทำไปและเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน) บทบาทของผู้เรียนในกิจกรรมการเรียนรู้ คือ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
ผู้เรียนต้องสร้างความรู้ด้วยตนเอง (</span><span style='color:black'>Construction)</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
ผู้เรียนต้องเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ด้วยตนเอง
รวมทั้งเก็บสะสมความรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับตนเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
ผู้เรียนใช้ทักษะกระบวนการในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (</span><span style='color:
black'>Process Skill) <span lang=TH>คือ ทักษะกระบวน<br>
การคิด (</span>Thinking Process) <span lang=TH>ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม (</span>Group
Process) <span lang=TH>และทักษะกระบวนการ<br>
สร้างความรู้ด้วยตนเอง (</span>Construction Process)</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span style='color:black'>4<span
lang=TH>. ผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในการเรียน
และมีปฏิสัมพันธ์ต่อสื่อการสอนต่อเพื่อนและ</span><br>
<span lang=TH>ต่อครูผู้สอน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>5.
ผู้เรียนต้องตัดสินปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>6.
ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข ต้องมีความพร้อมในการเรียน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>7.
ผู้เรียนต้องเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้และรู้วิธีที่จะเรียนรู้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>8.
ผู้เรียนต้องให้ความช่วยเหลือกันและกัน รู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>9.
ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.25pt'><span lang=TH style='color:black'>นอกจากนั้น&nbsp;
สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ (2553) กล่าวว่า ในโลกยุคปัจจุบันและอนาคตมี<br>
การแข่งขันสูงขึ้น ๆ และก็มีภาวะโลกาภิวัตน์มากขึ้น ๆ
บัณฑิตที่จบการศึกษาเข้าสู่แวดวงธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือเรียกง่าย ๆ
ว่าตลาดแรงงานนั้นก็ถูกคาดหวังสูงว่าจะมีความรู้ความสามารถ
เพียงพอที่จะปฏิบัติงานได้ทันที <br>
แต่ในความเป็นจริง
บัณฑิตจำนวนไม่น้อยถูกประเมินว่ายังมีความรู้ความสามารถไม่พอเพียง
ซึ่งก็คงจะเกิดจากหลายปัจจัย
แต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดก็คือโลกของความรู้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งภาคธุรกิจ
ภาคอุตสาหกรรมนั้นมีการปรับตัว และสามารถทำได้อย่างรวดเร็วเพื่อการแข่งขันในตลาดเชิงธุรกิจ
ในขณะที่ภาคการศึกษาขยับตัวช้าและขาดการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับภาคธุรกิจ
ภาคอุตสาหกรรมเหล่านั้น ทำให้บัณฑิตที่จบการศึกษาแล้วต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้
เรียนรู้เพิ่มขึ้นในช่วงก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
รวมถึงต้องมีศักยภาพที่จะเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รับข้อมูล ความรู้
และเทคโนโลยีที่ทันสมัยไปตลอดชีวิตการทำงาน ความสามารถ ในการใช้ภาษาต่างประเทศ
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกลายเป็นคุณสมบัติที่ต้องมีและต้องใช้สำหรับบัณฑิตในศตวรรษที่
21 จึงต้องใฝ่รู้ <br>
สู้งาน ประสานสัมพันธ์ มุ่งมั่นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน
รวมถึงการมีอิสระทางความคิดและมีจิตวิจัย คือ รู้และรักที่จะค้นหาความรู้ใหม่ ๆ </span></p>
 
<p class=MsoNormal><span lang=TH style='color:red'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
</span><span lang=TH>สรุปได้ว่า ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้น
ผู้เรียนต้องมีความพร้อมในการเรียน และสร้างความรู้ด้วยตนเอง &nbsp;สามารถตัดสินปัญหาต่าง
ๆ อย่างมีเหตุผล รู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองรวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><img width=297
height=194 id="Picture 1" src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image012.jpg"><span
style='color:black'>&nbsp;</span><img width=259 height=194 id="Picture 6"
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image014.jpg"></p>
 
<p class=MsoNormal><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span lang=TH
style='color:black'>ภาพที่ </span><span style='color:black'>1.5</span></b><span
lang=TH style='color:black'> แสดงตัวอย่างบทบาทผู้เรียนจาก “ผู้รับรู้” มาเป็น
“ผู้ใฝ่เรียนรู้”</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span lang=TH
style='color:black'>ที่มา</span></b><span lang=TH style='color:black'> : ณัฐพงษ์
โตมั่น, </span><span style='color:black'>2563</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><span
style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<h3><span lang=TH>3.4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</span></h3>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญซึ่งมุ่งพัฒนาความรู้และ
ทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิต และทักษะสังคม ปรากฏในวงการศึกษาไทยหลายรูปแบบ (กรมวิชาการ,
</span><span style='color:black'>2544)<span lang=TH> ตัวอย่างเช่น</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span style='color:black'>1. <span
lang=TH>การเรียนรู้จากกรณีปัญหา (</span>Problem-Based Learning : PBL)</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนคิดและดําเนินการเรียนรู้ กําหนด วัตถุประสงค์
และเลือกแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนเป็นผู้ให้คําแนะนํา
เป็นการส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหามากกว่าการจําเนื้อหาข้อเท็จจริง
เป็นการส่งเสริมการทํางานเป็นกลุ่มและพัฒนาทักษะทางสังคม
ซึ่งวิธีการนี้จะทําได้ดีในการจัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา
เพราะผู้เรียนมีระดับความสามารถทางการคิดและการดําเนินการด้วยตนเองได้ดี</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>&nbsp;&nbsp;&nbsp;
เงื่อนไขที่ทําให้เกิดการเรียนรู้ประกอบด้วย ความรู้เดิมของผู้เรียน
ทําให้เกิดความ เข้าใจข้อมูลใหม่ได้ การจัดสถานการณ์ที่เหมือนจริง
ส่งเสริมการแสดงออกและการนําไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ
การให้โอกาสผู้เรียนได้ไตร่ตรองข้อมูลอย่างลึกซึ้ง ทําให้ผู้เรียนตอบ คําถาม
จดบันทึก สอนเพื่อน สรุป วิพากษ์วิจารณ์สมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ได้ดี</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span style='color:black'>2. <span
lang=TH>การเรียนรู้เป็นรายบุคคล (</span>Individual Study)</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>เนื่องจากผู้เรียนแต่ละบุคคลมี
ความสามารถในการเรียนรู้และความสนใจในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน
ดังนั้นจึงจําเป็นที่จะ
ต้องมีเทคนิคหลายวิธีเพื่อช่วยให้การจัดการเรียนในกลุ่มใหญ่สามารถตอบสนองผู้เรียนแต่ละ
คนที่แตกต่างกันได้ด้วย เช่น</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span style='color:black'>2.1<span
lang=TH> เทคนิคการใช้ </span>Concept Mapping <span lang=TH>ที่มีหลักการใช้ตรวจสอบความคิดของผู้เรียน<br>
ว่าคิดอะไร เข้าใจสิ่งที่เรียนอย่างไรแล้วแสดงออกมาเป็นกราฟฟิก</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span style='color:black'>2.2<span
lang=TH> เทคนิค </span>Learning Contracts <span lang=TH>คือ
สัญญาที่ผู้เรียนกับผู้สอนร่วมกันกําหนด เพื่อใช้เป็นหลักยึดในการเรียนว่าจะเรียนอะไร
อย่างไร เวลาใด ใช้เกณฑ์อะไรประเมิน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span style='color:black'>2.3<span
lang=TH> เทคนิค </span>Know-Want-Learned <span lang=TH>ใช้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่
ผสมผสานกับการใช้ </span>Mapping <span lang=TH>ความรู้เดิม
เทคนิคการรายงานหน้าชั้นที่ให้ผู้เรียนไปศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเองมานําเสนอหน้าชั้นซึ่งอาจมีกิจกรรมทดสอบผู้ฟังด้วย</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span style='color:black'>2.4<span
lang=TH> เทคนิคกระบวนการกลุ่ม (</span>Group Process) <span lang=TH>เป็นการเรียนที่ทําให้ผู้เรียนได้
ร่วมมือกันแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน
เพื่อแก้ปัญหาให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.15pt'><b><span style='color:black'>3. <span
lang=TH>การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (</span>Constructivism)</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>การเรียนรู้แบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานว่าผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการอาศัยประสบการณ์แห่งชีวิตที่ได้รับเพื่อค้นหาความจริง
โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่หลากหลาย ซึ่งนักทฤษฎี
สร้างสรรค์นิยมได้ประยุกต์ทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาดังกล่าวในรูปแบบและ
มุมมองใหม่ ซึ่งแบ่งออกเป็น </span>2<span lang=TH> กลุ่มใหญ่ คือ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span style='color:black'>3.1<span
lang=TH> กลุ่มที่เน้นกระบวนการรู้คิดในตัวบุคคล (</span>Radical Constructivism
or Personal Constructivism or Cognitive Oriented Constructivist Theories) <span
lang=TH>เป็นกลุ่มที่เน้น การเรียนรู้ของมนุษย์เป็นรายบุคคล
โดยมีความเชื่อว่ามนุษย์แต่ละคนรู้วิธีเรียนและรู้วิธีคิด
เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span style='color:black'>3.2<span
lang=TH> กลุ่มที่เน้นการสร้างความรู้โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (</span>Social
Constructivism or Socially Oriented Constructivist Theories) <span lang=TH>เป็นกลุ่มที่เน้นว่าความรู้คือ
ผลผลิตทางสังคมโดยมีข้อตกลงเบื้องต้นสองประการ คือ ความรู้ต้องสัมพันธ์กับชุมชน
และ ปัจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตร์มีผลต่อการเรียนรู้
ดังนั้นครูจึงมีบทบาทเป็นผู้ อํานวยความสะดวกในการเรียนรู้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.4pt'><b><span style='color:black'>4. <span
lang=TH>การเรียนรู้จากการสอนแบบเอส ไอ พี (</span>SIP)</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>การสอนแบบเอส ไอ พี เป็น
รูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อฝึกทักษะทางการสอนให้กับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา สาขา
วิชาการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถเกี่ยวกับทักษะการสอน โดยผลที่
เกิดกับผู้เรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางอ้อม
คือ การสร้างความรู้ด้วยตนเอง ความร่วมมือในการเรียนรู้ และ
ความพึงพอใจในการเรียนรู้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span lang=TH style='color:black'>วิธีการที่ใช้ในการสอน
คือ การทดลองฝึกปฏิบัติจริงอย่างเข้มข้น ต่อเนื่อง และเป็น ระบบ
โดยการสอนแบบจุลภาคที่ให้ผู้เรียนทุกคนมีบทบาทในการฝึกทดลองตั้งแต่เริ่มต้นจน
สิ้นสุดการฝึก ขั้นตอนการสอน คือขั้นความรู้ความเข้าใจ ขั้นสํารวจ วิเคราะห์
และออกแบบ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.3pt'><span lang=TH style='color:black'>การฝึกทักษะ
ขั้นฝึกทักษะ ขั้นประเมินผล โครงสร้างทางสังคมของรูปแบบการสอน
อยู่ในระดับปานกลางถึงต่ำ ในขณะที่ผู้เรียนฝึกทดลองทักษะการสอนนั้นผู้สอนต้องให้การ
ช่วยเหลือสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สิ่งที่จะทําให้การฝึกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล คือความพร้อมของระบบสนับสนุน ได้แก่ ห้องปฏิบัติการสอน ห้องสื่อเอกสาร
หลักสูตรและการสอน และเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.4pt'><b><span style='color:black'>5. <span
lang=TH>การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง (</span>Self-Study) </span></b><span
lang=TH style='color:black'>การเรียนรู้แบบนี้เป็นการให้ผู้เรียนศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
เช่น การจัดการเรียนการสอนแบบ สืบค้น (</span><span style='color:black'>Inquiry
Instruction) <span lang=TH>การเรียนแบบค้นพบ (</span>Discovery Learning) <span
lang=TH>การเรียนแบบแก้ ปัญหา (</span>Problem Solving) <span lang=TH>การเรียนรู้เชิงประสบการณ์
(</span>Experiential Learning) <span lang=TH>ซึ่งการเรียนการ
สอนแบบแสวงหาความรู้ด้วยตนเองนี้ใช้ในการเรียนรู้ทั้งที่เป็นรายบุคคลและกระบวนการกลุ่ม</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.4pt'><b><span style='color:black'>6. <span
lang=TH>การเรียนรู้จากการทํางาน (</span>Work-Based Learning)</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>การเรียนรู้แบบนี้เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการทุกด้าน
ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้เนื้อหา สาระการฝึกปฏิบัติจริง ฝึกฝนทักษะทางสังคม
ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ การพัฒนาทักษะการ คิดขั้นสูง
โดยสถาบันการศึกษามักร่วมมือกับแหล่งงานในชุมชนรับผิดชอบการจัดการเรียน
การสอนร่วมกัน ตั้งแต่การกําหนดวัตถุประสงค์ การกําหนดเนื้อหากิจกรรม
และวิธีการประเมิน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.4pt'><b><span style='color:black'>7. <span
lang=TH>การเรียนรู้ที่เน้นการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ (</span>Research-Based
Learning)</span></b><span style='color:black'> <span lang=TH><br>
การเรียนรู้ที่เน้นการวิจัยถือได้ว่าเป็นหัวใจของบัณฑิตศึกษา
เพราะเป็นการเรียนที่เน้นการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนโดยตรง
เป็นการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู้
และการทดสอบความสามารถทางการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยรูปแบบการเรียน
การสอนอาจแบ่งได้เป็น </span>4<span lang=TH> ลักษณะใหญ่ ๆ
ได้แก่การสอนโดยใช้วิธีวิจัยเป็นวิธีสอนการสอนโดย
ผู้เรียนร่วมทําโครงการวิจัยกับอาจารย์หรือเป็นผู้ช่วยโครงการวิจัยของอาจารย์
การสอนโดย
ผู้เรียนศึกษางานวิจัยของอาจารย์และของนักวิจัยชั้นนําในศาสตร์ที่ศึกษาและการสอนโดยใช้ผลการวิจัยประกอบการสอน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.4pt'><b><span style='color:black'>8. <span
lang=TH>การเรียนรู้ที่ใช้วิธีสร้างผลงานจากการตกผลึกทางปัญญา (</span>Crystal-Based
Approach)</span></b><span style='color:black'> <span lang=TH>การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ความรู้
ความคิดด้วยตนเองด้วยการรวบรวมทําความเข้าใจ
สรุปวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการศึกษา ด้วยตนเอง เหมาะสําหรับบัณฑิตศึกษาเพราะผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่
มีประสบการณ์เกี่ยวกับ ศาสตร์ที่ศึกษามาในระดับหนึ่งแล้ว</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.55pt'><span lang=TH style='color:black'>วิธีการเรียนรู้เริ่มจากการทําความเข้าใจกับผู้เรียนให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
<br>
ตามแนวนี้ จากนั้นทําความเข้าใจในเนื้อหาและประเด็นหลัก ๆ ของรายวิชา มอบหมายให้
ผู้เรียนไปศึกษาวิเคราะห์เอกสาร
แนวคิดตามประเด็นที่กําหนดแล้วให้ผู้เรียนพัฒนาแนวคิดใน ประเด็นต่าง ๆ
แยกที่ละประเด็น โดยให้ผู้เรียนเขียนประเด็นเหล่านั้นเป็นผลงานในลักษณะที่
เป็นแนวคิดของตนเองที่ผ่านการกลั่นกรอง วิเคราะห์เจาะลึกจนตกผลึกทางความคิดเป็นของ
ตนเอง จากนั้นจึงนําเสนอให้กลุ่มเพื่อนได้ช่วยวิเคราะห์วิจารณ์อีกครั้ง</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.55pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<h2><span lang=TH>4. </span><span lang=TH style='color:black'>วิธีการจัดการเรียนรู้</span></h2>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><span lang=TH style='color:black'>ธเนศ
เจริญทรัพย์ (2556 อ้างถึงใน เกษทิพย์&nbsp; ศิริชัยศิลป์, 2557) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้จำเป็นต้องจัดให้สอดคล้องกับความถนัด
ความสนใจและพัฒนาการของผู้เรียน เน้นฝึกทักษะกระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์
การประยุกต์ความรู้เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน &nbsp;การเรียนการสอนที่ดีนั้นควรมีความเป็นพลวัตร
คือ <br>
มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ รูปแบบเทคนิค วิธีการ เป็นต้น
ซึ่งหลักในการจัดการเรียนรู้ มีดังนี้ </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>ประเด็นที่ 1</span></b><span lang=TH style='color:black'>
ครูมีหน้าที่ในการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีความเข้าใจอย่างถี่ถ้วน
เนื่องจากหลักสูตรนั้นเปรียบเสมือนแสงเทียนนำทางสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้
ในหลักสูตรแกนกลางฉบับปัจจุบันนั้นประกอบไปด้วยรายละเอียดที่มีความจำเป็นและสำคัญ
อาทิ ตัวชี้วัด สาระ<br>
การเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะที่สำคัญ เป็นต้น
การที่ครูเข้าใจและรู้รายละเอียดดังกล่าวทั้งหมดอย่างเข้าใจจะส่งผลให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ให้บรรลุตามเป้าประสงค์ที่หลักสูตรวางไว้ได้และ<br>
การจัดการเรียนรู้นั้นจะเป็นสิ่งที่ตอบโจทย์ความต้องการของสังคม</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>ประเด็นที่ 2</span></b><span lang=TH style='color:black'>
ครูควรวางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบและตามลำดับขั้นอย่างชัดเจน ดร.สุริน
ชุมสาย ณ อยุธยา ได้กล่าวไว้ในหนังสือการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ว่า ครูที่ดีต้องมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีต้องมีการนำไปปฏิบัติ
การปฏิบัติที่ดีต้องเป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่วางไว้
ซึ่งสามารถเข้าใจได้ว่า
การวางแผนการจัดการเรียนรู้นั้นถือเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งในบรรดากระบวนการทั้งหมด
ครูจำเป็นต้องลำดับขั้นให้ชัดเจนว่าจะสอนอะไรก่อน สอนอะไรหลัง
แต่ถึงกระนั้นแผนการจัดการเรียนรู้ควรมีความยืดหยุ่น เปลี่ยนแปลงได้ตามโอกาสและสถานการณ์จริง
ครูจึงควรมีความมั่นใจที่จะเผชิญกับสถานการณ์ในชั้นเรียนได้ทุกรูปแบบที่เกิดขึ้นนอกเหนือความคาดหวัง
</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span style='color:black'>&nbsp;</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>ประเด็นที่ 3</span></b><span lang=TH style='color:black'>
ครูควรเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ที่แปลกใหม่และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ดังนั้นครูควรใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันออกไปในการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้งและควรสอนให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ในชั้นเรียนกับชีวิตประจำวันเข้าด้วยกันได้อย่างสมดุล
และฝึกให้นักเรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิดทุกรูปแบบ
ตามแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของ ดร.วิชัย ตันศิริ
กล่าวไว้ว่า กระบวนการเรียนการสอนควรมุ่งเน้นการแสดงความคิด
การฝึกให้ผู้เรียนได้มองกว้างและมองไกล
มีความเข้าใจในระดับมหัพภาคและสามารถวิเคราะห์แยกแยะได้ในระดับจุลภาค
ยิ่งไปกว่านั้นครูให้ผู้เรียนเข้าใจว่าความรู้ไม่ได้จำกัดอยู่แต่ในเฉพาะหนังสือหรือในชั้นเรียนเพียงเท่านั้น
ดังนั้นครูควรเชื่อมช่องว่างระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติ
ทำให้นักเรียนเกิดความชำนาญในเรื่องที่นักเรียนสนใจ
และสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิต สำหรับการจัดการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นสำคัญ
นักเรียนต้องได้รับโอกาสในการเรียนรู้จากการได้ปฏิบัติจริง ลงมือทำจริงด้วยตนเอง
ดังนั้น ครูผู้สอนจึงมีหน้าที่สร้างความกระตือรือร้น และแรงจูงใจในการเรียนรู้
คอยกระตุ้น แนะนำในสิ่งที่นักเรียนสงสัย ต้องสร้างความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
พร้อมกันนั้นก็ฝึกฝนนักเรียนให้มีสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร อันได้แก่
ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหาความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และคุณลักษณะที่พึงประสงค์</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>ประเด็นที่ 4</span></b><span lang=TH style='color:black'>
ครูควรใช้หลักจิตวิทยาแรงจูงใจให้เป็นและมีประสิทธิภาพสูงสุด
เนื่องจากแรงจูงใจนั้นจะนำไปสู่กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
สิ่งที่ครูจะต้องทำในฐานะผู้นำแนวทางการเรียนการสอน คือ การกระตุ้นให้เด็ก ๆ
รู้สึกถึงความต้องการของตน
เพราะความต้องการจะนำให้นักเรียนนั้นสนใจและใส่ใจกับบทเรียน
จึงสามารถกล่าวได้ว่าแรงจูงใจที่เหมาะสมจึงเป็นกุญแจสำคัญในการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
สำหรับครูประถมศึกษานั้นการสร้างแรงจูงใจถือเป็นสิ่งสำคัญเพราะด้วยพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ของนักเรียนในระดับนี้นั้นยังไม่ได้รับการพัฒนาอย่างสมบูรณ์
การที่นักเรียนจะจดจ่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นระยะเวลานาน ๆ นั้นเป็นเรื่องยาก
ซึ่งสิ่งนี้อาจเป็นปัญหาของครูผู้สอนทุกคน แนวทางที่ดีทางหนึ่งคือให้ผู้เรียนจะสร้างเป้าหมายใหม่
ๆ ร่วมกันอย่างต่อเนื่องเพื่อดึงให้เขาเห็นความสำคัญของสิ่งที่เขาจะได้เรียนรู้
การสร้างแรงจูงใจในการเรียนที่ดี&nbsp; อีกวิธีการหนึ่งคือ อารมณ์ขัน
ในชั้นเรียนนั้นครูควรเล่าเรื่องตลกให้นักเรียนฟังบ้าง
การมีอารมณ์ขันจะช่วยทลายกำแพงระหว่างครูกับนักเรียนได้และเป็นการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่ดีอีกด้วย</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>ประเด็นที่ 5</span></b><span lang=TH style='color:black'>
ครูควรสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และสนุกสนาน
ไม่ว่าจะเป็นบรรยากาศทางกายภาพ (</span><span style='color:black'>Physical
Atmosphere) <span lang=TH>และบรรยากาศทางจิตวิทยา(</span>Psychological
Atmosphere) <span lang=TH>ซึ่งบรรยากาศทางกายภาพ คือ การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
ภายในห้องเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย มีความสะอาด น่าอยู่
มีสื่อการเรียนรู้ที่ครบครัน
พร้อมที่จะส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนทุกคน
การอาศัยความร่วมมือในการสร้างบรรยากาศทางกายภาพจากผู้เรียนถือเป็นอีกหนทางหนึ่งในการทำให้ผู้เรียนรู้สึกชอบและต้องการจะอยู่ในชั้นเรียนเพราะเขานั้นได้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์รูปแบบของชั้นเรียนของเขาเอง
ด้านบรรยากาศ ทางจิตวิทยา คือ บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกอบอุ่น
มีความสบายใจ มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน มีความเป็นกันเอง สำหรับการสร้างบรรยากาศความเป็นกันเองในชั้นเรียนระหว่างครูและนักเรียนนั้นครูควรทำให้นักเรียนเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วมการสอน
ไม่ใช่บรรยากาศที่ครูยืนอยู่หน้าชั้นตลอดทั้งชั่วโมงการเรียนหรือนักเรียนต้องจับจ้องสายตาไปที่กระดานดำเพียงอย่างเดียว</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>ประเด็นที่ 6</span></b><span lang=TH style='color:black'>
ครูควรมีการประเมินการจัดการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียน
ซึ่งการประเมินผลนั้นถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการเรียนรู้
รายละเอียดในการประเมินต้องมีให้ครบทุกปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน
ไม่ว่าจะเป็นการประเมินตัวครู การประเมินตัวนักเรียน <br>
การประเมินสื่อสำหรับการจัดการเรียนรู้
การประเมินทั้งสามประการนั้นถือเป็นสิ่งจำเป็นเนื่องจากส่งผลโดยตรงต่อการจัดการเรียนรู้และพัฒนาการทุกด้าน
ได้แก่ พัฒนาการด้านสติปัญญา พัฒนาการด้านสังคม
พัฒนาการด้านร่างกายและพัฒนาการด้านคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน สิ่งที่ครูต้องประเมินตนเองนั้นควรประกอบไปด้วยการประเมินวิธี
ขั้นตอนและเทคนิคการจัดการเรียนรู้เพราะตัวครูนั้นอาจสอนไม่ชัดเจน
ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และ&nbsp; อาจขาดความต่อเนื่องของเนื้อหา
นอกจากนี้ครูอาจขาดความชำนาญในการสอน
ไม่มีความสามารถในการโน้มน้าวความสนใจของนักเรียนให้มีต่อบทเรียนได้
รวมไปถึงครูต้องประเมินความสามารถในการจัดชั้นเรียน
การควบคุมชั้นเรียนเพราะครูอาจยังไม่เข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียนเท่าที่ควร</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:65.3pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<h2><span lang=TH>5. กระบวนการจัดการเรียนรู้</span></h2>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><span style='color:black'>&nbsp;<span
lang=TH>ณัฐพงษ์ โตมั่น (2563</span>: 18-33<span lang=TH>) กล่าวว่า การเรียนรู้ที่มีคุณภาพนั้นต้องมีกระบวนจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ
และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องไว้ได้
โดยผู้เขียนขอนำเสนอเทคนิคกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>1. กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ (</span><span
style='color:black'>Six Thinking Hats) <span lang=TH>ของเดอ โบโน</span></span></b><span
lang=TH style='color:black'> <br>
(</span><span style='color:black'>De Bono, 1992)<span lang=TH> เทคนิคหมวกหกใบ
เป็นการใช้สีของหมวกแต่ละใบที่มีสีต่างกันแทนความคิดแต่ละด้านโดยให้วิธีคิดแต่ละอย่างกำหนดจากสีของหมวก
ซึ่งสีของหมวกแต่ละใบจะสอดคล้องกับแนวคิดของหมวกใบนั้น ๆ <br>
เป็นการบอกให้ทราบว่าต้องการให้คิดไปในทิศทางใด ในการคิดนักคิดจะใช้หมวกครั้งละหนึ่งใบแทนแต่ละความคิด
สีของหมวกนี้จะเป็นกรอบที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญต่อการรับรู้ช่วยให้เข้าใจและจดจำง่ายขึ้นเพราะเป็นการสอนด้วยสัญลักษณ์
</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span style='color:black'>1. <span
lang=TH>หมวกสีขาว สีขาวแสดงถึงความเป็นกลางและวัตถุนิสัย
หมวกสีขาวจึงเป็นตัวแทนของข้อมูลตัวเลข ข้อเท็จจริงต่าง ๆ เป็นสิ่งที่ทุกคนยอมรับ
ไม่มีการโต้แย้ง</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span style='color:black'>2. <span
lang=TH>หมวกสีแดง สีแดงแสดงถึงความเกรี้ยวกราด อารมณ์
หมวกสีแดงจึงเป็นการมองทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ความหยั่งรู้ และสัญชาติญาณ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span style='color:black'>3. <span
lang=TH>หมวกสีดำ สีดำแสดงถึงความมืดครึ้ม หมวกสีดำจึงเป็นการมองในด้านลบ ข้อเสีย
เหตุผลในการปฏิเสธ จุดด้อย และข้อผิดพลาด</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span style='color:black'>4. <span
lang=TH>หมวกสีเหลือง สีเหลืองแสดงถึงความสดใส สว่าง
หมวกสีเหลืองจึงเป็นการมองในด้านบวก แง่ดี ความเป็นไปได้ ความหวัง
ความมั่นใจว่าทำได้ และคุณประโยชน์ รวมทั้งเหตุผลในการยอมรับ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span style='color:black'>5. <span
lang=TH>หมวกสีเขียว สีเขียวแสดงถึงการมีชีวิต ความเจริญ งอกงาม และความอุดมสมบูรณ์
หมวกสีเขียวจึงเป็นการมองด้วยความคิดใหม่ ๆ สร้างสรรค์</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span style='color:black'>6. <span
lang=TH>หมวกสีน้ำเงิน สีน้ำเงินแสดงถึงการควบคุม
เปรียบท้องฟ้าที่ปกคลุมอยู่เหนือทุกสิ่ง หมวกสีน้ำเงินจึงเป็นการควบคุม
การจัดระเบียบ การประเมิน และการสรุปแนวทางการจัดการเรียนรู้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:49.5pt'><span lang=TH style='color:black'>การสวมหมวก
คือ การคิด โดยผู้สวมหมวกก็คือ ทุก ๆ บุคคล เพื่อเป็นสัญลักษณ์หรือสิ่งแทนให้<br>
ผู้สวมหมวกคิดตามสีของหมวกที่สวมอยู่ขณะนั้น
เมื่อต้องการให้บุคคลใดคิดไปในทางใดก็ให้บุคคลนั้น<br>
สวมหมวกสีนั้น ซึ่งโดยปกติผู้นำหรือหัวหน้ากลุ่มจะเป็นผู้สวมหมวกสีน้ำเงิน ซึ่งจะเป็นผู้ควบคุมหรือจัดระเบียบในการคิด
เพื่อให้ผู้ร่วมงานหรือสมาชิกในกลุ่มคิดไปในทางเดียวกัน</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=left style='text-align:left'><span style='position:
absolute;z-index:251655168;margin-left:334px;margin-top:291px;width:300px;
height:125px'><img width=300 height=125
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image016.png"
alt="ภาพที่ 1.6 ทฤษฎีหมวก 6 ใบกับการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียน&#13;&#10;ที่มา : https://www.eduzones.com/&#13;&#10;2020/02/29/six-hats-theory/&#13;&#10;"></span><img
width=334 height=418 id="Picture 15"
src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image017.jpg"></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:40.5pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>2. การจัดการเรียนรู้แบบ 4</span><span style='color:black'>
MAT<span lang=TH> </span></span></b><span lang=TH style='color:black'>เป็นการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ที่คำนึงถึงแบบการเรียนของผู้เรียน 4
แบบกับการพัฒนาสมองซีกซ้ายและซีกขวาอย่างสมดุล
เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามแบบและความต้องการของตนเองอย่างเหมาะสม และสามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ
(ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์</span><span style='color:black'>, <span lang=TH>2553) <br>
ในปี ค.ศ. 1980</span> McCarthy <span lang=TH>ได้สรุปแนวคิดเป็นรูปแบบ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>การเรียนการสอนแบบใหม่ที่ตอบสนองการเรียนรู้ผู้เรียน
4 แบบ (4</span><span style='color:black'> Types of Students) <span lang=TH>ซึ่งลักษณะการเรียนรู้ของเด็ก
ๆ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับโครงสร้างทางสมองและระบบการทำงานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา
โดยนำแนวความคิดจาก </span>Kolb <span lang=TH>มาประยุกต์ โดยมีหลักการดังนี้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>1.
มนุษย์ได้รับประสบการณ์และความรู้
ด้วยวิธีการที่แตกต่างกันหลายวิธีและมีกระบวนการการจัดการกับประสบการณ์และความรู้นั้นหลายวิธีต่างกัน
ตลอดจนสามารถผสมผสานเทคนิคการรับรู้และปรับแต่งให้เกิดเป็นรูปแบบการเรียนรู้เฉพาะตนที่ไม่เหมือนใคร</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>2.
รูปแบบการเรียนรู้ที่สำคัญมีอยู่ 4 รูปแบบ ซึ่งมีคุณค่าเท่าเทียมกัน
และผู้เรียนต้องการที่จะมีความสุขและสะดวกสบายในวิธีการเรียนรู้ของตน</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>3.
รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้ง 4 แบบ ประกอบด้วย</span></p>
 
<p class=MsoNormal><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><img width=275
height=158 src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image018.png"
alt="ผู้เรียนแบบที่ 1&#13;&#10;เป็นผู้ที่มีความสนใจความหมายส่วนตัว &#13;&#10;ครูจำเป็นต้องสร้างความรู้สึกที่มีเหตุผล&#13;&#10;และให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล&#13;&#10;&#13;&#10;&#13;&#10;&#13;&#10;"><img
width=275 height=158 src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image019.png"
alt="ผู้เรียนแบบที่ 2&#13;&#10;เป็นผู้ที่ความสนใจในข้อเท็จจริงและ ทำความเข้าใจด้วยตนเอง ครูต้องป้อนข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงที่ทำให้ผู้เรียนเข้าใจ อย่างลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น&#13;&#10;&#13;&#10;&#13;&#10;"></b></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><img width=275
height=158 src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image020.png"
alt="ผู้เรียนแบบที่ 3&#13;&#10;เป็นผู้ที่มีความสนใจเบื้องต้นในวิธีการต่าง ๆ &#13;&#10;ที่สามารถลงมือปฏิบัติและได้ชิ้นงาน&#13;&#10;ครูต้องชักชวนและให้ปฏิบัติด้วยตนเอง&#13;&#10;&#13;&#10;&#13;&#10;"><img
width=275 height=158 src="การจัดการเรียนรู้%20(1)_files/image022.png"
alt="ผู้เรียนแบบที่ 4&#13;&#10;เป็นผู้ที่มีความสนใจเบื้องต้นในการค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ครูต้องให้เรียนรู้และ สอนกันเอง&#13;&#10;&#13;&#10;&#13;&#10;"></b></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span
style='font-size:8.0pt;line-height:107%;color:red'>&nbsp;</span></b></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span lang=TH
style='color:black'>ภาพที่ </span><span style='color:black'>1.7</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนแบบ </span>4<span
lang=TH> </span>MAT</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=center style='text-align:center'><b><span lang=TH
style='color:black'>ที่มา </span><span style='color:black'>:</span></b><span
style='color:black'> <span lang=TH>ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, </span>2554</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span style='color:black'>4. <span
lang=TH>ผู้เรียนทุกคนจำเป็นต้องมีครูที่สอนด้วยวิธีการครบ </span>4<span lang=TH>
แบบ เพื่อที่เรียนได้อย่างสะดวกสบายและประสบผลสำเร็จ
ต่อจากนั้นสามารถพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ในด้านอื่น ๆ ต่อไป</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span style='color:black'>5. <span
lang=TH>ระบบการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ </span>4 MAT <span lang=TH>จะดำเนินไปตามวัฏจักรการเรียนรู้เป็นไปตามขั้นตอนทั้ง
</span>4<span lang=TH> แบบ
และผสมผสานกับลักษณะพิเศษซึ่งเป้นความก้าวหน้าการเรียนรู้ตามธรรมชาติ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span style='color:black'>6. <span
lang=TH>วิธีการเรียนรู้ทั้ง </span>4<span lang=TH> แบบนี้
จำเป็นต้องสอนโดยใช้เทคนิคกระบวนการสมองซีกซ้ายและซีกขวา
ซึ่งผู้เรียนที่มีความถนัดทางสมองซีกขวาจะเรียนรู้ได้เพียงครึ่งเวลา
และปรับครึ่งเวลาที่เหลือนั้นให้เหมาะสม ส่วนผู้เรียนที่มีความถนัดทางสมองซีกซ้าย
จะเรียนรู้ได้เพียงครึ่งเวลาและเรียนรู้ดัดแปลงครึ่งเวลาที่เหลือนั้นให้เหมาะสมเช่นกัน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span style='color:black'>7. <span
lang=TH>เป้าหมายหลักของการศึกษา คือ การพัฒนาและบูรณาการการเรียนรู้ทั้ง </span>4<span
lang=TH> แบบให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รวมถึงการพัฒนาและการบูรณาการสมองซีกซ้ายและซีกขวาให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span style='color:black'>8. <span
lang=TH>ผู้เรียนจะกลายเป็นที่ยอมรับว่าตนมีความเข้มแข็ง
และสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพของตน
เพื่อเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:58.5pt'><span style='color:black'>9. <span
lang=TH>การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งผู้เรียนมีความสนใจและมีความสุขกับสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ก็จะเรียนรู้จากผู้อื่นได้มากขึ้นเท่านั้น</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:40.5pt'><b><span lang=TH
style='color:black'>3. มิติการคิดและกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ </span></b><span
lang=TH style='color:black'>โดย ทิศนา แขมมณี (2560) กล่าวว่า การศึกษาค้นคว้าและจัดมิติของการคิดมีทั้งหมด
</span><span style='color:black'>6<span lang=TH> ด้าน คือ</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>มิติที่
</span><span style='color:black'>1 <span lang=TH>มิติด้านข้อมูลหรือเนื้อหาที่ใช้ในการคิด
การคิดของบุคคลจะ เกิดขึ้นได้จําเป็นต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อย </span>2 <span
lang=TH>ส่วน คือ เนื้อหาที่ใช้ในการคิดและกระบวนการคิด คือต้องมีการคิดอะไร
ควบคู่ไปกับการคิดอย่างไร ซึ่งเรื่องหรือข้อมูลที่คิดนั้น
มีจํานวนมากเกินกว่าที่จะกําหนดได้ อย่างไรก็ตาม อาจจัดกลุ่มใหญ่ ๆ ได้เป็น </span>3<span
lang=TH> กลุ่ม คือ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ข้อมูลเกี่ยวกับ
สังคมและสิ่งแวดล้อมและข้อมูลวิชาการ </span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>มิติที่
</span><span style='color:black'>2 <span lang=TH>มิติด้านคุณสมบัติที่เอื้ออํานวยต่อการคิด
ได้แก่ คุณสมบัติส่วนตัว ของบุคคล ซึ่งมีผลโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อการคิดและคุณภาพของการคิด
เช่น ความใจกว้าง ความใฝ่รู้ ความกระตือรือร้น ความกล้าเสี่ยง เป็นต้น</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>มิติที่
</span><span style='color:black'>3 <span lang=TH>มิติด้านทักษะการคิด หมายถึง
กระบวนการหรือขั้นตอนที่บุคคล ใช้ในการคิด ซึ่งจัดได้เป็น </span>3<span lang=TH>
กลุ่มใหญ่ คือ ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (</span>basic thinking skills) <span
lang=TH>ประกอบด้วยทักษะที่ใช้ในการสื่อสาร<br>
เช่น ทักษะการอ่าน การพูด การเขียน ฯลฯ ทักษะการคิดที่เป็นแกน (</span>core
thinking skills) <span lang=TH>เช่น ทักษะการสังเกต<br>
การเปรียบเทียบ เชื่อมโยง ฯลฯ และทักษะการคิดขั้นสูง (</span>higher order
thinking skills) <span lang=TH>เช่น ทักษะการนิยาม การสร้าง การสังเคราะห์
การจัดระบบ ฯลฯ ทักษะการคิดขั้นสูงมักประกอบด้วย กระบวนการหรือขั้นตอนที่ซับซ้อนมากกว่าทักษะการคิดขั้นที่ต่ำกว่า</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>มิติที่
4 มิติด้านลักษณะการคิด เป็นประเภทของการคิดที่มีลักษณะเฉพาะ
ซึ่งมีความเป็นนามธรรมสูง จําเป็นต้องมีการตีความให้เห็นเป็นรูปธรรม
จึงจะสามารถเห็นกระบวนการหรือขั้นตอนการคิดชัดเจนขึ้น เช่น การคิดกว้าง การ
คิดลึกซึ้ง การคิดละเอียด เป็นต้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>มิติที่
5 มิติด้านกระบวนคิด เป็นการคิดที่ประกอบไปด้วยขั้นตอนหลักหลายขั้นตอน
ซึ่งจะนําผู้คิดไปสู่เป้าหมายเฉพาะของการคิดนั้น โดยขั้นตอนหลักเหล่านั้นจําเป็นต้องอาศัยทักษะการคิดย่อย
ๆ จํานวนมากบ้างน้อยบ้าง เช่น กระบวนการคิดแก้ปัญหา กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกระบวนการวิจัย
เป็นต้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>มิติที่
6 มิติด้านการควบคุมและประเมินการคิดของตน (</span><span style='color:black'>metacognition)
<span lang=TH>เป็นกระบวนการที่บุคคลใช้ในการควบคุมกํากับการรู้คิดของตนเอง
มีผู้เรียกการคิดในลักษณะนี้ว่า เป็นการคิดอย่างมียุทธศาสตร์ (</span>Strategic
thinking) <span lang=TH>ซึ่งครอบคลุมการวางแผน การควบคุมกํากับการกระทําของตนเอง
การตรวจสอบความก้าวหน้า และการประเมินผล</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><b><span lang=TH>กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ</span></b><span
lang=TH> จุดมุ่งหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้ความคิดที่รอบคอบสมเหตุสมผลผ่านการพิจารณาปัจจัยรอบด้านอย่างกว้างขวาง
ลึกซึ้ง และผ่านการพิจารณากลั่นกรอง ไตร่ตรอง ทั้งทาง ด้าน<span style='color:
black'>คุณ - โทษ และคุณค่าที่แท้จริงของสิ่งนั้นมาแล้ว</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:54.0pt'><span lang=TH style='color:black'>เกณฑ์ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ผู้ที่คิดอย่างมีวิจารณญาณ จะมีความสามารถดังนี้ </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>1) <span
lang=TH>สามารถกําหนดเป้าหมายในการคิดอย่างถูกต้อง </span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>2) <span
lang=TH>สามารถระบุประเด็นในการคิดอย่างชัดเจน ไม่มาก</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>3) <span
lang=TH>สามารถประมวลข้อมูล ทั้งทางด้านข้อเท็จจริง และความคิดเห็น
เกี่ยวกับประเด็นที่คิด<br>
ทั้งทางกว้าง ทางลึก และไกล</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>4) <span
lang=TH>สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และเลือกข้อมูลที่จะใช้ในการคิดได้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>5)
สามารถประเมินข้อมูลได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal align=left style='text-align:left;text-indent:79.15pt'><span
lang=TH style='color:black'>6) <span style='letter-spacing:-.5pt'>สามารถใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูลและเสนอคําตอบหรือทางเลือกที่สมเหตุสมผลได้</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>7)
สามารถเลือกทางเลือก/ลงความเห็นในประเด็นที่คิดได้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span style='color:black'>&nbsp;</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>วิธีการหรือขั้นตอนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>1)
ตั้งเป้าหมายในการคิด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>2)
ระบุประเด็นในการคิด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>3)
ประมวลข้อมูล ทั้งทางด้านข้อเท็จจริง และความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่คิด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>4)
วิเคราะห์ จําแนกแยกแยะข้อมูล จัดหมวดหมู่ของข้อมูล และเลือกข้อมูลที่จะนํามาใช้</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>5)
ประเมินข้อมูลที่จะใช้ในแง่ความถูกต้อง ความเพียงพอ และความน่าเชื่อถือ </span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>6)
<span style='letter-spacing:-.4pt'>ใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูลเพื่อแสวงหาทางเลือกคําตอบที่สมเหตุสมผลตามข้อมูลที่มี</span></span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>7)
เลือกทางเลือกที่เหมาะสมโดยพิจารณาถึงผลที่จะตามมา และคุณค่าหรือความหมาย<br>
ที่แท้จริงของสิ่งนั้น</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>8)
ชั่งน้ำหนัก ผลได้ ผลเสีย คุณ - โทษ ในระยะสั้นและระยะยาว</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>9)
ไตร่ตรอง ทบทวนกลับไปมาให้รอบคอบ</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:79.15pt'><span lang=TH style='color:black'>10)
ประเมินทางเลือกและลงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิด</span></p>
 
<p class=MsoNormal style='text-indent:36.0pt'><span lang=TH style='color:black'>สรุปได้ว่า
กระบวนการจัดการเรียนรู้นั้น มีวิธีการหรือเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
โดยผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา เหมาะสมกับผู้เรียน
สอดคล้องกับตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้จากกิจกรรมนั้นและเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง</span></p>
 
<span style='font-size:16.0pt;line-height:107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif'><br
clear=all style='page-break-before:always'>
</span>