ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามลายูปัตตานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
|glotto=patt1249
}}
 
'''ภาษามลายูปัตตานี''' หรือ '''ภาษามลายูปาตานี''' (มลายูปัตตานี: บาซอนายูตานิง; {{lang-ms|Bahasa Melayu Patani}}, [[อักษรยาวี]]: {{lang|ms|بهاس ملاي ڤطاني}}) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า '''ภาษายาวี''' (มลายูปัตตานี: {{lang|ms|บาซอญฺวี, บอซอยาวี}}, [[อักษรยาวี]]: {{lang|ms|بهاس جاوي}}) เป็น[[ภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน]]ที่พูดโดยชาว[[ไทยเชื้อสายมลายู]]ใน[[จังหวัดปัตตานี]] [[จังหวัดนราธิวาส]] [[จังหวัดยะลา]] รวมทั้งใน[[อำเภอนาทวี]] [[อำเภอจะนะ]] [[อำเภอเทพา]] และ[[อำเภอสะบ้าย้อย]] ทางทิศตะวันออกของ[[จังหวัดสงขลา]] (ไม่รวม[[จังหวัดสตูล]]) และในเขตฮูลูเปรักใน[[รัฐเปรัก]]ของ[[มาเลเซีย]]
 
ใน[[ประเทศไทย]]มีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน [[ภาษา]]นี้ใกล้เคียงมากกับ[[ภาษามลายู]]ถิ่นใน[[รัฐกลันตัน]] ประเทศ[[มาเลเซีย]] ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศ[[มาเลเซีย]] บางครั้งก็มีการเรียกรวมกันเป็นภาษาเดียวกันว่า '''ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี''' (มลายูปัตตานี: {{lang|ms|''บาซอนายูกือลาแต-ตานิง''}}, [[กลันตัน]]: {{lang|ms|''Baso nayu Kelate-Taning''}})
 
== ระบบเสียง ==
บรรทัด 173:
ความแตกต่างระหว่างภาษามลายูปัตตานีกับภาษามลายูกลางหรือ[[ภาษามาเลเซีย]]มีดังนี้<ref>ประพนธ์, 2540</ref>
===การใช้คำ===
บางคำทั้งสอง[[ภาษา]]ใช้คำต่างกัน เช่น ฉัน [[ภาษามาเลเซีย]]ใช้ {{lang|ms|''saya''}} [[ภาษามลายูปัตตานี]]ใช้ อามอ หรือ ซายอ; มันเทศ ภาษามาเลเซียใช้ {{lang|ms|''ubi keledek''}} [[ภาษามลายูปัตตานี]]ใช้ อูบีกือแตลอ หรือ อูบีแตลอ; [[ภาษามาเลเซีย]]ใช้ {{lang|ms|''kacap''}} [[ภาษามลายูปัตตานี]]ใช้ แกแจะ นอกจากนี้ ยังมีการใช้คำ[[ภาษาไทย]]ปะปนเข้ามาในบางส่วน
 
===การออกเสียง===
* '''ออกเสียงสระต่างกัน''' ได้แก่
** <u>เสียง {{IPA|/a/}} + พยัญชนะนาสิกในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɛ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''ay'''am'''''}} (ไก่) เป็น อา'''แ'''ย; {{lang|ms|''mak'''an'''''}} (กิน) เป็น มา'''แ'''ก
** <u>เสียง {{IPA|/a/}} ท้ายคำในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɔ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''nam'''a'''''}} (ชื่อ) เป็น นาม'''อ'''; {{lang|ms|''sil'''a'''''}} (เชิญ) เป็น ซีล'''อ'''
** <u>เสียง {{IPA|/a/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɔʔ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''baw'''a'''''}} (พา) เป็น บอ'''เ'''ว'''าะ'''; {{lang|ms|''mint'''a'''''}} (ขอ) เป็น มี'''เ'''ต'''าะ'''
** <u>เสียง {{IPA|/ah/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɔh/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''rum'''ah'''''}} (บ้าน) เป็น รู'''เ'''ม'''าะฮ'''
** <u>เสียง {{IPA|/aj/}} ท้ายคำในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/a/}} หรือ {{IPA|/ɛ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''sung'''ai'''''}} (คลอง) เป็น ซูง'''า'''หรือซู'''แ'''ง; {{lang|ms|''ked'''ai'''''}} (ตลาด) เป็น กือด'''า'''หรือกือ'''แ'''ด (การแปรเป็นเสียง /ɛ/ พบในบางท้องถิ่นเท่านั้น)
** <u>เสียง {{IPA|/aw/}} ท้ายคำในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/a/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''pis'''au'''''}} (มีด) เป็น ปีซ'''า'''
** <u>เสียง {{IPA|/i/}} ท้ายคำที่ประสมกับพยัญชนะนาสิกในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/iŋ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''sin'''i'''''}} (ที่นั่ง) เป็น ซี'''นิง'''
** <u>เสียง {{IPA|/ia/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ijɛ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''S'''ia'''m''}} (สยาม) เป็น '''ซีแย'''
** <u>เสียง {{IPA|/ia/}} พยางค์แรกในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɛ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''b'''ia'''sa''}} (เคย) เป็น '''แ'''บซอ
** <u>เสียง {{IPA|/ua/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɔ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''p'''ua'''sa''}} (บวช) เป็น ป'''อ'''ซอ
* '''ออกเสียงพยัญชนะต้นต่างกัน''' เช่น
** <u>เสียง {{IPA|/r/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ɣ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''o'''r'''ang''}} (คน) เป็น ออแ'''รฺ''', {{lang|ms|'''''r'''antai''}} (โซ่) เป็น '''รฺ'''าตา
* '''ออกเสียงตัวสะกดต่างกัน''' เช่น
** <u>ตัวสะกดที่เป็นเสียงเสียดแทรก {{IPA|/s/}}, {{IPA|/f/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียงที่เกิดจากคอหอย {{IPA|/h/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''mala'''s'''''}} (เกียจคร้าน) เป็น มาละ'''ฮ'''
** <u>ตัวสะกด {{IPA|/n/}}, {{IPA|/m/}} ในภาษามาเลเซีย</u> แปรเป็นเสียง {{IPA|/ŋ/}} ในภาษามลายูปัตตานี เช่น {{lang|ms|''haki'''m'''''}} (ตุลาการ) เป็น ฮาเก็'''ง'''
นอกจากนั้นภาษามลายูปัตตานียังนิยมลดเสียงและคำที่พูด เช่น {{lang|ms|''emak saudara''}} (น้าผู้หญิง) ในภาษามาเลเซีย เป็น เมาะซือดารฺอ ในภาษามลายูปัตตานี
 
===โครงสร้างประโยค===
บรรทัด 198:
 
===ความต่างของไวยากรณ์และคำศัพท์===
* ภาษามลายูปัตตานีตัดคำอุปสรรคที่ไม่จำเป็นออก เช่น {{lang|ms|'''''ber'''jalan''}} (เดิน) ในภาษามาเลเซีย เป็น 'ยฺแล ในภาษามลายูปัตตานี
* ภาษามลายูปัตตานีใช้คำง่ายกว่า เช่น มาแก ใช้ได้ทั้ง กินข้าว ดื่มน้ำ สูบบุหรี่ แต่ภาษามาเลเซียแยกเป็น {{lang|ms|''makan''}} (กิน), {{lang|ms|''minum''}} (ดื่ม) และ {{lang|ms|''hisap''}} (สูบ)
* ภาษามาเลเซียมีการแยกระดับของคำมากกว่า เช่น ผู้ชายใช้ {{lang|ms|''laki-laki''}} สัตว์ตัวผู้ใช้ {{lang|ms|''jantan''}} ส่วนภาษามลายูปัตตานีใช้ ยฺแต กับทั้งคนและสัตว์ ส่วน ลือลากี มีใช้น้อย
* ภาษามลายูปัตตานีมีการเรียงคำแบบภาษาไทยมากกว่า เช่น ทำนา ใช้ บูวะบือแ<u>น</u>