ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสัมพันธ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Racconish (คุย | ส่วนร่วม)
corr image & date
บรรทัด 1:
[[File:PoireLes philiPoires, 1Honoré Daumier (1834).JPGjpg|thumb|right|การ์ตูนล้อเลียนในนิตยสาร ''[[เลอชารีวารี]]'' ฉบับวันที่ 2717 กุมภาพันธ์มกราคม ค.ศ. 1834 สัมพันธ์[[พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]กับ[[ลูกแพร์]] วาดโดย[[ชาร์ล ฟีลีปง]]]]
 
'''การสัมพันธ์''' ({{lang-en|association}}) หมายถึงการสร้างความสัมพันธ์ทางจิตระหว่าง[[แนวคิด]] (concept), [[เหตุการณ์]] (event) หรือ[[สภาวะจิต]] (mental state) ซึ่งเกิดขึ้นจาก[[ประสบการณ์]]เฉพาะ<ref name=":3">Klein, Stephen (2012).&nbsp;''Learning: Principles and Applications''&nbsp;(6 ed.). SAGE Publications. {{ISBN|978-1-4129-8734-9}}.</ref> &nbsp; เราสามารถพบแนวคิดเรื่องการสัมพันธ์ได้ในหลาย[[สำนักคิด]] (schools of thought) ใน[[จิตวิทยา]]เช่น [[พฤติกรรมนิยม]], [[สนธิการนิยม]] (associationism) , [[จิตวิเคราะห์]], [[จิตวิทยาสังคม]], และ [[โครงสร้างนิยม]] (structuralism) [[มโนภาพ]] (idea) นี้มาจาก[[เพลโต]]กับ[[แอริสตอเติล]]โดยเฉพาะเรื่องการสืบทอดความจำและถูกนำไปต่อยอดโดยนักปรัชญาเช่น [[จอห์น ล็อก]], [[เดวิด ฮูม]], [[เดวิด ฮาร์ตลี (นักปรัชญา)|เดวิด ฮาร์ตลี]] (David Hartley) และ[[เจมส์ มิลล์]] (James Mill)<ref name="Boring">Boring, E. G. (1950)</ref> นอกจากนี้ยังสามารถพบแนวคิดนี้ได้ในวิชาจิตวิทยาร่วมสมัยหลายสาขาเช่น [[ความจำ]], [[การเรียน]]และการศึกษา[[วิถีประสาท]]<ref>Smith, E. E. & Kosslyn, S. M. (2007)</ref>