ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทคโนโลยี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเพื่อการแก้ไขปัญหา: มีการใส่หัวข้อ/ประเด็นแตกย่อยจากหัวข้อ/ประเด็นหลัก มากเกินไป วิธีแก้:ควรไปอยู่ในหน้าบทความอื่นที่เหมาะสม หรือหากจำเป็นควรเรียบเรียงการแก้ไขให้ดีกว่านี้
NP-chaonay (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเพื่อการแก้ไขปัญหา: มีการใส่เนื้อหาที่มีบางส่วนซ้ำ แต่จำเป็นต้องเอาออกทั้งก้อนเพราะไม่สามารถแยกประเด็นในการแก้ไขได้โดยง่าย วิธีแก้:หากมีบางประเด็นที่คิดว่าไม่ซ้ำและเห็นควรใส่ สามารถใส่ได้ก็ต่อเมื่อมีการเรียบเรียงเข้ากับข้อความที่มีอยู่ ไม่ใช่มาใส่ซ้อนกัน เสมือนว่าบทความไม่ได้อ่านไปในทางเดียวกัน (อ่านไม่สละสลวย))
บรรทัด 5:
 
คำว่า "เทคโนโลยี" ในความหมายอย่างกว้าง หมายถึงการนำความรู้ทาง[[ธรรมชาติวิทยา]]และต่อเนื่องมาถึง[[วิทยาศาสตร์]] มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้[[นามธรรม]]เช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น <ref name="STOU">สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. "5.1.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยี". ''ประมวลสาระชุดวิชาไทยศึกษา หน่วยที่ 1-7''. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552. หน้า 244. ISBN 974-645-258-4</ref>
 
'''นิยามของเทคโนโลยี'''
เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น
 
กระบวนการต่าง ๆ
 
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
 
ลักษณะของเทคโนโลยี