ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชตวร์มอัพไทลุง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
|superseding = [[ไฟล์:Flag Schutzstaffel.svg|border|23px]] [[ชุทซ์ชตัฟเฟิล]] (ตั้งแต่ ค.ศ. 1934)
|jurisdiction = {{flagcountry|Nazi Germany}}
|headquarters = [[มิวนิก]] [[ประเทศเยอรมนี]]<br>{{coord|48|8|37.53|N|11|34|6.76|E|type:landmark|display=inline}}
|latd=48 |latm=8 |lats=37.53 |latNS=N
|longd=11 |longm=34 |longs=6.76 |longEW= E
|region_code =
|members = 3,000,000 คน (ค.ศ. 1934)
เส้น 36 ⟶ 34:
ชตวร์มอัพไทลุงมีบทบาทสำคัญในการก้าวขึ้นสู่อำนาจของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ในคริสต์ทศวรรษ 1920–1930 โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการคุ้มกันการเคลื่อนทัพและการระดมพลของนาซี เข้าก่อกวนการประชุมพรรคฝ่ายค้าน สู้กับหน่วยกึ่งทหารของฝ่ายตรงข้าม เช่น [[ร็อตฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์|สันนิบาตนักสู้แนวหน้าสีแดง]]ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]] รวมถึงสร้างความหวาดกลัวให้แก่ผู้นิยม[[สหภาพแรงงาน]] [[ชาวโรมานี]]หรือยิปซี และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ชาวยิว]] เช่นในช่วงการคว่ำบาตรชาวยิวของนาซี
 
ชตวร์มอัพไทลุงบ้างก็รู้จักในยุคสมัยนั้นว่า "พวกชุดกากี" ({{lang|de|''Braunhemden''}}) ทำนองเดียวกับกลุ่มชุดดำของ[[มุสโสลินี]] ชตวร์มอัพไทลุงมียศกึ่งทหารเป็นของตนเองซึ่งต่อมานำไปใช้กับกลุ่มนาซีหลายกลุ่ม โดยกลุ่มที่เป็นหัวหน้าก็เช่นกลุ่ม[[ชุทซ์ชตัฟเฟิล]] ซึ่งเคยอยู่ภายใต้กลุ่มชตวร์มอัพไทลุงก่อนแยกตัวออกมาภายหลัง เหตุที่ใช้ชุดกากีเพราะว่าใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] มีชุดเหล่านี้จำนวนมากและราคาถูก เนื่องจากได้เคยมีการสั่งชุดนี้สำหรับทหารที่ถูกส่งไปประจำการในอาณานิคมแอฟริกาของเยอรมนี
 
ชตวร์มอัพไทลุงสูญเสียอำนาจหลังจากฮิตเลอร์สั่งให้มีการฆ่าล้างอย่างโหดเหี้ยมในเหตุการณ์[[คืนมีดยาว]] และถูกแทนที่โดยชุทซ์ชตัฟเฟิล แต่ชตวร์มอัพไทลุงก็ยังไม่ถูกเลิกถาวรจนกระทั่งอาณาจักรไรช์ที่ 3 ยอมจำนนต่อ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ใน ค.ศ. 1945