ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การผังเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''การผังเมือง''' หรือ '''การวางแผนชุมชนเมือง''' ({{lang-en|UrbanCity planningPlanning}}) เป็นศาสตร์หนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชา เช่น การวางแผน [[กฎหมาย]] [[สถาปัตยกรรม]] [[สังคมศาสตร์]] [[เศรษฐศาสตร์]] [[สิ่งแวดล้อม]] [[วิศวกรรมจราจร]] เพื่อเป็นการกำหนดนโยบาย กฎหมาย เกณฑ์ ระเบียบ เพื่อการจัดวางแผนและผังและแผนการการใช้พื้นที่ของเมือง ชุมชน โครงข่ายการจราจร
 
ในประเทศไทย หน่วยงานของรัฐฯที่เป็นองค์กรหลักในการจัดทำผังเมืองคือ [[กรมโยธาธิการและผังเมือง]] ส่วนกรุงเทพมหานครได้รับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น กำหนดให้มีหน่วยงานที่ดูแลจัดทำผังเมืองของตนเอง คือ [[สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร]]
ผู้จัดทำผังเมือง เรียกว่า [[นักผังเมือง]] การวางผังเมืองมีหลายระดับ ตั้งแต่ [[ผังชุมชน]] [[ผังเมืองเฉพาะ]] [[ผังเมืองรวม]] [[ผังภาค]] จนถึง[[ผังประเทศ]] โดยมีความละเอียดของการวางแผนที่ต่างกัน จากการออกแบบกายภาพ การใช้ที่ดิน(กำหนดโดยการใช้สี เช่น สีแดง หมายถึงย่านพานิชยกรรม สีเหลือง หมายถึงที่พักอาศัยหนาแน่นน้อย เป็นต้น) ความหนาแน่น โครงข่าย/[[ระบบจราจรและขนส่ง]] หรือพื้นที่สีเขียว/[[สวนสาธารณะ]] มักมีประกาศกฎเกณฑ์ประกอบแผนในรูปกฎหมายประกอบอยู่ด้วย
 
ได้มีการกำหนดให้วันที่ 8 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็น "วันผังเมืองโลก" (World Town Planning Day) โดยมีองค์กรหลักที่เกี่ยวข้องคือ The International Society of City and Regional Planners (IsoCaRP) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่[[กรุงเฮก]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] และ The America Institute of Certified Planners (AICP) เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการวางผังเมืองนานาชาติ
ในประเทศไทยหน่วยงานของรัฐฯที่เป็นองค์กรหลักในการจัดทำผังเมืองคือ [[กรมโยธาธิการและผังเมือง]] ส่วนกรุงเทพมหานครได้รับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น กำหนดให้มีหน่วยงานที่ดูแลจัดทำผังเมืองของตนเอง คือ [[สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร]]
 
== นักผังเมือง / สถาปนิกผังเมืองในประเทศไทย ==
ได้มีการกำหนดให้วันที่ 8 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็น "วันผังเมืองโลก" (World Town Planning Day) โดยมีองค์กรหลักที่เกี่ยวข้องคือ The International Society of City and Regional Planners (IsoCaRP) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่[[กรุงเฮก]] [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] และ The America Institute of Certified Planners (AICP) เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการวางผังเมืองนานาชาติ
'''นักผังเมือง''' ในประเทศไทยมีขอบเขตการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ 2 [[สมาคมวิชาชีพ]] ได้แก่ [[สมาคมนักผังเมืองไทย]] (Thai City Planners Society - TCPS) เป็นสมาคมของนักผังเมือง (urban planners) และ[[สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย]] (Thai Urban Designers Association - TUDA) ซึ่งเป็นสมาคมของสถาปนิกผังเมือง หรือสถาปนิกที่ทำงานในสาขา[[สถาปัตยกรรมผังเมือง]] ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สาขาสถาปัตยกรรมควบคุมของ[[สภาสถาปนิก]] วิชาชีพสถาปนิกผังเมืองจึงเป็นวิชาชีพควบคุมตาม[[พระราชบัญญัติสถาปนิก]] พ.ศ.2543
 
== ผังเมืองในประเทศไทย ==
'''นักผังเมือง''' ในประเทศไทย ขึ้นอยู่กับ 2 [[สมาคมวิชาชีพ]] คือ [[สมาคมนักผังเมืองไทย]](Thai City Planners Society-TCPS) และ[[สมาคมสถาปนิกชุมชนเมืองไทย]] (Association of Thai Urban Designers - TUDA) ปัจจุบัน[[สมาคมสถาปนิกชุมชนเมืองไทย]]เป็นส่วนหนึ่งของสาขา[[สถาปัตยกรรมผังเมือง]] ใน[[สภาสถาปนิก]] วิชาชีพผังเมืองจึงเป็นวิชาชีพควบคุมตาม[[พระราชบัญญัติสถาปนิก]] ดังจะเห็นได้จาก กฎกระทรวงว่าด้วยวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมฯ ปี 2549<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/A/070/15.PDF กฎกระทรวงการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม ปี 2549]</ref>)ที่ระบุว่างานสถาปัตยกรรมผังเมืองควบคุมได้แก่ พื้นที่ที่มีการบังคับใช้[[ผังเมืองรวม]] [[ผังเมืองเฉพาะ]], [[งานจัดรูปที่ดิน]], [[การจัดสรรที่ดิน]], งานอนุรักษ์[[ศิลปกรรม]]และ[[สิ่งแวดล้อม]], งานในพื้นที่[[เขตเพลิงไหม้]]และ[[เขตภัยพิบัติ]], [[นิคมอุตสาหกรรม]], กลุ่มอาคารขนาดใหญ่-ใหญ่พิเศษ อาคารสาธารณะ อาคารสูง อาคารพิเศษ พื้นที่รวมกัน 30,000 ตารางเมตรขึ้นไป
 
เดิมวิชาผังเมืองเปิดเป็นหลักสูตรสอนในระดับปริญญาโท (บัณฑิตวิทยาลัย) เริ่มครั้งแรกที่ [[ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เน้นการวางแผนและนโยบายในภาพกว้างบัณฑิตจากทุกสาขาสามารถเข้าเรียนได้ และ ต่อมา [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] ได้เปิดสอนที่หลักสูตรปริญญาโท สำหรับผู้ที่จบปริญญาตรีสถาปัตยกรรมและการออกแบบกายภาพอื่นๆ ที่ [[ภาควิชาการออกแบบชุมชนเมือง]] และ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ใน [[สาขาวิชาการผังเมือง]]โดยได้รับปริญญาการผังเมืองมหาบัณฑิตโดยตรง ในปัจจุบันมีหลักสูตร[[การออกแบบชุมชนเมือง]] ทั้งนี้ ในปัจจุบันได้ทำการเปิดสอนในระดับปริญญาตรีในหลายมหาวิทยาลัย อาทิ [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ที่ [[ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ใน [[สาขาวิชาการผังเมือง]] และสาขาการออกแบบพัฒนาชุมชนเมือง และ[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์]] [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]]ที่ [[สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน]] เป็นต้น