ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บีรเฏาะวีล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
โดยนิตินัย/พฤตินัย เมื่อแปลแล้วไม่ต้องจัดรูปแบบตัวเอน
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 65:
 
สถานะเป็น ''[[terra nullius]]'' (ดินแดนที่ไม่มีรัฐใดอ้างสิทธิ์ในดินแดน) ของบีร์ฏาวีล เกิดจากความขัดแย้งระหว่างเส้นแบ่งพรมแดนของอียิปต์และซูดานซึ่งมีสองแบบ ได้แก่แบบรัฐการซึ่งเขียนเป็นเส้นตรงในปี 1899 และแบบการบริหารที่เขียนเป็นเส้นไม่ตรงในปี 1902 อียิปต์ยึดถือเส้นแบ่งตามรัฐการที่เป็นเส้นตรง ส่วนซูดานยึดเส้นแบ่งตามการบริหารที่ไม่เป็นเส้นตรง ส่งผลให้พื้นที่ของ[[Halaib Triangle|สามเหลี่ยมฮาลาอิบ]] ({{lang|ar-Latn|Hala'ib|italic=no}}) ถูกอ้างสิทธิ์ทั้งโดยอียิปต์และซูดาน ส่วนบีร์ฏาวีล ({{lang|arz-Latn|Bir Tawil|italic=no}}) ถูกปฏิเสธสิทธิ์ในดินแดนจากทั้งสองประเทศ ในปี 2014 นักเขียน Alastair Bonnett เรียกสามเหลี่ยมฮาลาอิบว่าเป็นพื้นที่เดียวบนโลกที่[[habitability|อยู่อาศัยได้]]แต่ไม่ถูกครอบครองโดยรัฐเอกราชใด ๆ<ref name="Bonnett2014">{{cite book|last=Bonnett |first=Alastair |title=Unruly Places: Lost Spaces, Secret Cities and Other Inscrutable Geographies |chapter=Bir Tawil |chapter-url=https://books.google.com/books?id=9eNJAQAAQBAJ&pg=PA73 |date=2014 |publisher=Houghton Mifflin Harcourt |isbn=978-0-544-10160-9 |page=73 |oclc=890509603 |lccn=2013050983 |quote=the only place on the planet that is both habitable and unclaimed.}}</ref>
 
==ภูมิศาสตร์==
บีร์ฏาวีลมีพื้นที่ {{convert|2060|km2|0|abbr=on}} ความยาวเส้นแบ่งทางเหนืออยู่ที่ {{convert|95|km|mi}} และทางใต้อยู่ที่ {{convert|46|km|mi}} ทางตะวันออกอยู่ที่ {{convert|26|km|mi}} และทางตะวันตกอยู่ที่ {{convert|49|km|mi}} ทางเหนือของพื้นที่คือภูเขา {{lang|ar-Latn|Jabal Tawil|italic=no}} ({{lang|ar|جبل طويل}}) ซึ่งสูง {{convert|459|m|ft}} ทางตะวันออกคือภูเขา {{lang|ar-Latn|[[Jebel Hagar ez Zarqa]]|italic=no}} ซึ่งสูง {{convert|662|m|ft}} ส่วนทางใต้คือ {{lang|ar-Latn|[[Wadi]] Tawil|italic=no}} ({{lang|ar|وادي طويل}}) หรือรู้จักในชื่อ {{lang|ar-Latn|Khawr Abū Bard}}
 
==อ้างอิง==