ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปชาธิปชัยทอง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:2014 0526 Thailand coup Chang Phueak Gate Chiang Mai 01.jpg|thumb|ทหารขณะเข้าตรึงพื้นที่ระหว่างการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] โดยประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 13 รัฐทั่วโลกที่ผู้นำในปัจจุบันมาจากรัฐประหาร]]
'''รัฐประหาร''' ({{lang-en|coup d'état}} {{IPAc-en|ˌ|k|uː|_|d|eɪ|ˈ|t|ɑː}} {{audio|Coup d'état.ogg|listen}}; ''คูเดตา'' {{IPA-fr|ku deta|lang}}, ตรงตัว: "การระเบิดรัฐ"; เรียกสั้น ๆ ว่า coup, รูปพหูพจน์: coups d'état, บางครั้งเรียกง่าย ๆ ว่า '''การล้มล้าง''' (overthrow), '''การเข้ายึดครอง''' (takeover) และ '''การล้มล้างรัฐบาล''' (putsch)) เป็นการยกเลิกและยึดรัฐบาลและอำนาจของรัฐบาล โดยทั่วไปแล้ว การก่อการรัฐประหารเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย และขัดต่อรัฐธรรมนูญ มักก่อการโดยฝ่ายทางการเมือง, กองทัพ หรือโดยผู้นำเผด็จการ<ref name=":0">{{Cite journal|title = Global instances of coups from 1950 to 2010 A new dataset|journal = Journal of Peace Research|date = 2011-03-01|issn = 0022-3433|pages = 249–259|volume = 48|issue = 2|doi = 10.1177/0022343310397436|language = en|first1 = Jonathan M.|last1 = Powell|first2 = Clayton L.|last2 = Thyne|s2cid = 9066792}}</ref> ในขณะที่ '''ความพยายามรัฐประหาร''' ({{lang-en|coup attempt}}) หมายถึงรัฐประหารที่กำลังดำเนินการอย่างไม่เป็นทางการอยู่ หรือหมายถึงรัฐประหารที่ล้มเหลว
== ตัวทำนาย ==
จากการทบทวนวรรณกรรมทางวิชาการชิ้นหนึ่งในปี 2003 พบว่าปัจจัยดังต่อไปนี้มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดรัฐประหาร: