ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยนิโสมนสิการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
ในทางพระพุทธศาสนาได้แบ่งโยนิโสมนสิการทั้งหมด10อย่างด้วยกัน คือ
 
*1.'''วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย''' (Inquiry) หรือวิธีคิดแบบอิทัปปัจจยตา คือการพิจารณาว่า สิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติว่าทอดไข่เจียว ถ้ามีน้ำมันผลเป็นเช่นไร ไม่มีน้ำมันผลเป็นเช่นไร ใส่เกลือผลเป็นเช่นไร(เค็ม) ไม่ใส่เกลือผลเป็นเช่นไร ไฟแรงผลเป็นเช่นไร(ไหม้เร็วไหม้ง่าย) ไฟไม่แรงผลเป็นเช่นไร
 
*32.'''วิธีคิดแบบแยกส่วน''' (Analysis)คือการคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ เช่นการพิจารณาว่า ร่างกายนี้ประกอบด้วยธาตุทั้ง4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่า รถยนต์ถ้าเราเอามาแยกส่วนเป็นชิ้น ก็จะเห็นว่ามีอะไรเป็นองค์ประกอบบ้าง เป็นการศึกษาและเทียบเคียงองค์ประกอบ ว่ามีลักษณะอย่างไร ทำด้วยอะไร แตกต่างกันอย่างไร มีหน้าที่อย่างไรเพื่อเข้าใจองค์ประกอบต่างๆให้ชัดเจน
*2.'''วิธีคิดแบบสามัญญลักษณะ''' หรือคิดแบบศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือการพิจารณาว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่แปรเปลี่ยน ดับไป วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติว่าวางปลาทอดไว้ ปลาจะค่อยๆเน่าในที่สุด หรือเมื่อสังเกตธรรมชาติ จะเห็นว่าฤดูกาลจะเปลี่ยนแปลงเป็นหน้าร้อน หน้าฝน หน้าหนาว ผู้คนจะเปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นวัยรุ่นเป็นผู้ใหญ่เป็นคนแก่ เป็นต้น
 
*23.'''วิธีคิดแบบสามัญญลักษณะ''' (The Three Characteristic)หรือคิดแบบศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือการพิจารณาว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่แปรเปลี่ยน ดับไป วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติว่าวางปลาทอดไว้ ปลาจะค่อยๆเน่าในที่สุด หรือเมื่อสังเกตธรรมชาติ จะเห็นว่าฤดูกาลจะเปลี่ยนแปลงเป็นหน้าร้อน หน้าฝน หน้าหนาว ผู้คนจะเปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นวัยรุ่นเป็นผู้ใหญ่เป็นคนแก่ เป็นต้น
*3.'''วิธีคิดแบบแยกส่วน''' คือการคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ เช่นการพิจารณาว่า ร่างกายนี้ประกอบด้วยธาตุทั้ง4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่า รถยนต์ถ้าเราเอามาแยกส่วนเป็นชิ้น ก็จะเห็นว่ามีอะไรเป็นองค์ประกอบบ้าง เป็นการศึกษาและเทียบเคียงองค์ประกอบ ว่ามีลักษณะอย่างไร ทำด้วยอะไร แตกต่างกันอย่างไร มีหน้าที่อย่างไรเพื่อเข้าใจองค์ประกอบต่างๆให้ชัดเจน
 
*54.'''วิธีคิดแบบอริยสัจ''' (The Four Noble Truths)คือวิธีการแก้ปัญหา แบบหาสาเหตุแห่งปัญหา โดยหาวิธีแก้ที่ต้นเหตุ เพื่อเข้าถึงการแก้ปัญหา คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
*4.'''วิธีคิดแบบวิภัชชวาที''' คือการคิดแบบองค์รวมโดยไม่เหมารวม คือการพิจารณาสิ่งต่างๆเป็นกรณีๆไป หรือการคิดแบบเทียบเคียงความจริงเฉพาะหน้า คือการพิจารณาถึงความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้นั่นเอง เป็นการพิจารณาความเข้ากันได้หรือเข้ากันไม่ได้ของข้อมูล วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติเกิดการฆาตกรรมขึ้น ฝ่ายสืบสวนและฝ่ายนิติวิทยาศาสตร์ ค้นพบหลักฐานที่มีความจริง ถ้ามีข้อสันนิษฐานอะไรที่ไม่ตรงกับหลักฐานที่มีย่อมใช้ไม่ได้ เมื่อเจอความจริงสองอย่างที่ขัดแย้งกันก็ต้องพิจารณาว่าอันไหนที่จริงหรือจริงทั้งคู่แต่มีอะไรถึงขัดแย้งกัน หรือควรสืบสวนใหม่หมดเพื่อได้คำตอบที่ถูกต้องชัดเจน ไม่มีความจริงใดขัดแย้งกัน, เปรียบได้กับความจริงของโลก ที่เราแบ่งการเข้าใจความจริงของโลกเป็นกลุ่มย่อยๆ และเมื่อนำความจริงทั้งหมดมารวมกันก็จะได้ความจริงของสรรพสิ่งที่สมบูรณ์ในที่สุด เมื่อข้อความรู้ในความจริงขัดแย้ง ก็เข้าไปศึกษาว่าควรแก้ไขหรือตัดออก ซึ่งอาจเกิดความรู้ความเข้าใจในความจริงๆใหม่ได้ เป็นการเข้าใจอดีต เข้าใจปัจจุบัน เข้าใจอนาคต เป็นการเข้าใจความจริงทุกสรรพสิ่งในภาพรวมทั้งหมด
 
*65.'''วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์''' (Principle and Rational) คือการศึกษาเป้าหมายและวิธีการ ว่าวิธีการถูกต้องต่อการที่จะทำให้เป้าหมายบรรลุผลหรือไม่ ธรรมคือเป้าหมายและหลักการ อรรถคือวิธีการในการบรรลุเป้าหมาย
*5.'''วิธีคิดแบบอริยสัจ''' คือวิธีการแก้ปัญหา แบบหาสาเหตุแห่งปัญหา โดยหาวิธีแก้ที่ต้นเหตุ เพื่อเข้าถึงการแก้ปัญหา คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
 
*96.''' วิธีคิดแบบพิจารณาคุณโทษและทางออก''' (Reward and Punishment Approach and Avoidance)หรือการพิจารณาข้อดี(อายโกศล) ข้อเสีย(อปายโกศล) และอุบายการใช้ประโยชน์จากข้อดี ข้อเสียนั้น(อุปายโกศล) วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าข้อดีของคนตัวใหญ่คือมีกำลังมาก ข้อเสียคือน้ำหนักเยอะไม่คล่องตัว ข้อดีของคนตัวเล็กคือคล่องแคล่ว ข้อเสียของคนตัวเล็กคือมีกำลังน้อย การใช้ประโยชน์เวลานำมาแข่งขันกีฬาก็ให้อยู่ในตำแหน่งหน้าที่ที่เหมาะสม ในทุกสิ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียในตัวเองด้วยกันทั้งนั้น ในคุณลักษณะตรงข้ามกันให้นำจุดแข็งของด้านนั้นเพื่อเอาชนะจุดอ่อนของอีกด้าน เช่นเอาข้อดีของสั้นเอาชนะข้อเสียของยาวเป็นต้น และในข้อเสียบ้างครั้งก็ใช้ประโยชน์ได้ เช่น พิษงูก็ยังนำไปทำเซรุ่มได้ ดังคำกล่าวที่ว่า ไม่มีสิ่งใดไร้ประโยชน์ มีเพียงสิ่งที่ไม่อยู่ในที่ๆเหมาะสมกับตัวเองเท่านั้น
*6.'''วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์''' คือการศึกษาเป้าหมายและวิธีการ ว่าวิธีการถูกต้องต่อการที่จะทำให้เป้าหมายบรรลุผลหรือไม่ ธรรมคือเป้าหมายและหลักการ อรรถคือวิธีการในการบรรลุเป้าหมาย
 
*7.'''วิธีคิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม''' (Real Value and Unreal Value)คือการพิจารณาว่าอะไรคือแก่น อะไรคือเปลือก อะไรคือสิ่งประดับ อะไรคือกาฝาก
 
*8.'''วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรม''' (Virture and stimulation)คือการคิดเป็นแสวงหาประโยชน์ในสิ่งต่างๆ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดบวก วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าปากกาด้ามหนึ่งใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง ใช้เป็นตะเกียบได้หรือเปล่า(คิดพลิกแพลง) นำไปดัดแปลงเป็นอะไรร่วมกับอะไรได้บ้าง(คิดประยุกษ์) และคิดในแง่บวก เช่น เกิดอุบัติเหตุแขนเจ็บ ก็คิดในแง่ดีว่าดีกว่าหัวเจ็บ อาจตายได้ เป็นต้น หรือวันนี้เราสามารถทำอะไรให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นได้บ้าง
 
*109.'''วิธีคิดแบบปัจจุบัน''' (Present Thought)เป็นกระบวนการคิดที่จะค้นหาวิเคราะห์ความจริงจากประสบการณ์ตรงผ่านประสาทสัมผัสทั้ง6คือตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ผ่านการมีสติในปัจจุบันจนเกิดความรู้จริงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากโยนิโสมนสิการข้ออื่นที่เน้นกระบวนการคิด ส่วนโยนิโสมนสิการข้อนี้เน้นประสบการณ์ตรง ซึ่งทำให้เกิดความสมบูรณ์ ในข้ออื่นจะเกี่ยวข้องกับอดีตอนาคตผ่านการพิจารณาเหตุปัจจัย แต่ข้อนี้จะเน้นอยู่กับปัจจุบัน ทำให้เกิดความสมบูรณ์ในกระบวนการพิจารณาอย่างรอบด้านครบถ้วน
*9.''' วิธีคิดแบบพิจารณาคุณโทษและทางออก'''หรือการพิจารณาข้อดี(อายโกศล) ข้อเสีย(อปายโกศล) และอุบายการใช้ประโยชน์จากข้อดี ข้อเสียนั้น(อุปายโกศล) วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าข้อดีของคนตัวใหญ่คือมีกำลังมาก ข้อเสียคือน้ำหนักเยอะไม่คล่องตัว ข้อดีของคนตัวเล็กคือคล่องแคล่ว ข้อเสียของคนตัวเล็กคือมีกำลังน้อย การใช้ประโยชน์เวลานำมาแข่งขันกีฬาก็ให้อยู่ในตำแหน่งหน้าที่ที่เหมาะสม ในทุกสิ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียในตัวเองด้วยกันทั้งนั้น ในคุณลักษณะตรงข้ามกันให้นำจุดแข็งของด้านนั้นเพื่อเอาชนะจุดอ่อนของอีกด้าน เช่นเอาข้อดีของสั้นเอาชนะข้อเสียของยาวเป็นต้น และในข้อเสียบ้างครั้งก็ใช้ประโยชน์ได้ เช่น พิษงูก็ยังนำไปทำเซรุ่มได้ ดังคำกล่าวที่ว่า ไม่มีสิ่งใดไร้ประโยชน์ มีเพียงสิ่งที่ไม่อยู่ในที่ๆเหมาะสมกับตัวเองเท่านั้น
 
*410.'''วิธีคิดแบบวิภัชชวาที''' (Well-Rounded Thought)คือการคิดแบบองค์รวมโดยไม่เหมารวม คือการพิจารณาสิ่งต่างๆเป็นกรณีๆไป หรือการคิดแบบเทียบเคียงความจริงเฉพาะหน้า คือการพิจารณาถึงความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้นั่นเอง เป็นการพิจารณาความเข้ากันได้หรือเข้ากันไม่ได้ของข้อมูล วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติเกิดการฆาตกรรมขึ้น ฝ่ายสืบสวนและฝ่ายนิติวิทยาศาสตร์ ค้นพบหลักฐานที่มีความจริง ถ้ามีข้อสันนิษฐานอะไรที่ไม่ตรงกับหลักฐานที่มีย่อมใช้ไม่ได้ เมื่อเจอความจริงสองอย่างที่ขัดแย้งกันก็ต้องพิจารณาว่าอันไหนที่จริงหรือจริงทั้งคู่แต่มีอะไรถึงขัดแย้งกัน หรือควรสืบสวนใหม่หมดเพื่อได้คำตอบที่ถูกต้องชัดเจน ไม่มีความจริงใดขัดแย้งกัน, เปรียบได้กับความจริงของโลก ที่เราแบ่งการเข้าใจความจริงของโลกเป็นกลุ่มย่อยๆ และเมื่อนำความจริงทั้งหมดมารวมกันก็จะได้ความจริงของสรรพสิ่งที่สมบูรณ์ในที่สุด เมื่อข้อความรู้ในความจริงขัดแย้ง ก็เข้าไปศึกษาว่าควรแก้ไขหรือตัดออก ซึ่งอาจเกิดความรู้ความเข้าใจในความจริงๆใหม่ได้ เป็นการเข้าใจอดีต เข้าใจปัจจุบัน เข้าใจอนาคต เป็นการเข้าใจความจริงทุกสรรพสิ่งในภาพรวมทั้งหมด
*10.'''วิธีคิดแบบปัจจุบัน''' เป็นกระบวนการคิดที่จะค้นหาวิเคราะห์ความจริงจากประสบการณ์ตรงผ่านประสาทสัมผัสทั้ง6คือตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ผ่านการมีสติในปัจจุบันจนเกิดความรู้จริงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากโยนิโสมนสิการข้ออื่นที่เน้นกระบวนการคิด ส่วนโยนิโสมนสิการข้อนี้เน้นประสบการณ์ตรง ซึ่งทำให้เกิดความสมบูรณ์ ในข้ออื่นจะเกี่ยวข้องกับอดีตอนาคตผ่านการพิจารณาเหตุปัจจัย แต่ข้อนี้จะเน้นอยู่กับปัจจุบัน ทำให้เกิดความสมบูรณ์ในกระบวนการพิจารณาอย่างรอบด้านครบถ้วน
 
== ศัพทมูลและนิยาม ==