ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรุษไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
แต่แม้จะกำหนดให้วันสงกรานต์เป็นวันปีใหม่ของไทย แต่เกณฑ์การเปลี่ยนปีนักษัตรก็ยังใช้วันตรุษเป็นเกณฑ์ เพราะแนวคิด12 นักษัตรเป็นแนวคิดทางเอเซียตะวันออกมานานเป็นพันปีแล้ว ซึ่งชาวเอเซียตะวันออกใช้หลักโหราศาสตร์ทางจันทรคติมาเก่าก่อน
 
ทั้งนี้คนไทยแต่โบราณเชื่อว่าในวันตรุษนี้ เทวดาผู้ดูแลโลก ดูแลประเทศ ดูแลเมือง จะเปลี่ยนแปลงผู้มาทำหน้าที่ จึงควรทำพิธีบรวงสรวงต้อนรับเทวดาที่มาใหม่และขอบคุณเทวดาที่เคยปกปักข์ปักรักษา
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 14:
 
 
ภายหลังได้กำหนดให้วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่และวันตรุษเป็นเพียงวันสิ้นปีเก่า จากอิทธิพลทางโหราศาสตร์จากตะวันตก ที่วันปีใหม่คือวันที่เริ่มเข้าสู่ราศีเมษ โดยราชสำนักไทยเรียกประเพณีตรุษนี้ว่า พระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์<ref>จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2496). '''พระราชพิธีสิบสองเดือน'''. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์.</ref> โดยมีการทรงบำเพ็ญพระราชกุศลและบำเพ็ญกิจโดยเอนกปริยาย เพื่อขับไล่อัปมงคลและสร้างสิริมงคลแก่พระนครเนื่องในการขึ้นปีใหม่<ref> [[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/2751.PDF พระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์], เล่ม ๒๘ ตอนที่ ๐ ง , ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๒๗๕๑</ref> โดยพระราชพิธีนี้ได้ปฏิบัติสืบมา และยกเลิกลงในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เนื่องจากทรงเห็นว่าไทยได้ติดต่อกับประเทศต่าง ๆ มากขึ้น การใช้ปฏิทินทางจันทรคติไม่เหมาะสมและไม่สะดวก เพราะไม่ลงรอยกับปฏิทินสากล จึงประกาศให้ราชอาณาจักรสยามกำหนดวันขึ้นปีใหม่ โดยใช้วันทางสุริยคติตามแบบสากลแทน ตั้งแต่วันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2432]] เป็นต้นมา และถือเอาวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ด้วย<ref>กรมศิลปากร. (2525). '''ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ 3 ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์'''. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.). หน้า131 132</ref> ต่อมาได้เปลี่ยนให้เป็นวันที่ 1 มกราคม เป็นวันปีใหม่สากล ในปี พ.ศ. 2483 โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ภายหลังได้กำหนดให้วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่และวันตรุษเป็นเพียงวันสิ้นปีเก่า จากอิทธิพลทางโหราศาสตร์จากตะวันตก ที่วันปีใหม่คือวันที่เริ่มเข้าสู่ราศีเมษ
 
โดยราชสำนักไทยเรียกประเพณีตรุษนี้ว่า พระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์<ref>จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2496). '''พระราชพิธีสิบสองเดือน'''. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์.</ref> โดยมีการทรงบำเพ็ญพระราชกุศลและบำเพ็ญกิจโดยเอนกปริยาย เพื่อขับไล่อัปมงคลและสร้างสิริมงคลแก่พระนครเนื่องในการขึ้นปีใหม่<ref> [[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/2751.PDF พระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์], เล่ม ๒๘ ตอนที่ ๐ ง , ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๒๗๕๑</ref> โดยพระราชพิธีนี้ได้ปฏิบัติสืบมา และยกเลิกลงในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เนื่องจากทรงเห็นว่าไทยได้ติดต่อกับประเทศต่าง ๆ มากขึ้น การใช้ปฏิทินทางจันทรคติไม่เหมาะสมและไม่สะดวก เพราะไม่ลงรอยกับปฏิทินสากล จึงประกาศให้ราชอาณาจักรสยามกำหนดวันขึ้นปีใหม่ โดยใช้วันทางสุริยคติตามแบบสากลแทน ตั้งแต่วันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2432]] เป็นต้นมา และถือเอาวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ด้วย<ref>กรมศิลปากร. (2525). '''ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ 3 ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์'''. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.). หน้า131 132</ref> ต่อมาได้เปลี่ยนให้เป็นวันที่ 1 มกราคม เป็นวันปีใหม่สากล ในปี พ.ศ. 2483 โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม
 
== ประเพณีตรุษไทยในปัจจุบัน ==