ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าเหี้ยนเต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
== {{ต้องการอ้างอิง ==}}
{{กล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก
'''หลิว เสีย''' ({{zh|c=劉協|p=Liú Xié}}; [[ภาษาจีนฮกเกี้ยน|สำเนียงฮกเกี้ยน]]ว่า "เล่าเหียบ") เป็นเจ้าชายใน[[ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก]]ของประเทศจีน เสวยราชย์เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 14 และพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ ด้วยพระนาม "เซี่ยนตี้" (獻帝; ฮกเกี้ยนว่า "เหี้ยนเต้"; แปลว่า "จักรพรรดิเซี่ยน/เหี้ยน") ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 189 จนถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 220 นอกจากนี้ ยังเป็นที่รู้จักด้วยพระนาม "หฺวังจื่อเสีย" (皇子協; ฮกเกี้ยนว่า "หองจูเหียบ"; แปลว่า "ราชบุตรเหียบ/เสีย")
| royalty = yes
| Name = พระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้
| Image =Emperor Xian Qing illustration.jpg
| Image_size =250px
| Caption = รูปวาดพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ในยุค[[ราชวงศ์ชิง]]
| Title = จักรพรรดิ
| Kingdom = [[ราชวงศ์ฮั่น]]
| Born = [[พ.ศ. 724]]
| Birth_place =
| Died = [[พ.ศ. 777]]
| Death_place =
| Reign = [[พ.ศ. 732]] - [[พ.ศ. 763]] (32 ปี)
| Predecessor = [[หองจูเปียน]]
| Successor =
| First = ตอนที่ 1
| Simp = 汉献帝
| Trad = 漢獻帝
| Pinyin = Hàn Xiàn dì
| WG = Han Hsien-ti
| Putonghua = ฮั่นเสี้ยนตี้
| Minnan = ฮั่นเหี้ยนเต้
| Zi =
| Post =
| Era = ยุคสามก๊ก
| Other = หองจูเหียบ (พระนามเดิม)
}}
 
หฺวังจื่อเสียเป็นพระโอรสของ[[พระเจ้าเลนเต้|หลิว หง]] (劉宏; ฮกเกี้ยนว่า "เล่าฮอง") ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 12 ของราชวงศ์ ทรงพระนาม หลิงตี้ (靈帝; ฮกเกี้ยนว่า "เลนเต้"; แปลว่า "จักรพรรดิหลิง/เลน") มีพระอนุชาร่วมพระบิดา คือ [[หองจูเปียน|หฺวังจื่อเปี้ยน]] (皇子辯; ฮกเกี้ยนว่า "หองจูเปียน"; แปลว่า "ราชบุตรเปี้ยน/เปียน") ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 13 ของราชวงศ์
'''จักรพรรดิฮั่นเซี่ยน''' หรือ '''ฮั่นเซี่ยนตี้''' สำเนียงจีนฮกเกี้ยนว่า '''ฮั่นเหี้ยนเต้''' ({{zh-all|t=漢獻帝|s=汉献帝|p=Hàn Xiàn Dì}}) พระนามเดิม '''เสีย''' ตามสำเนียงกลาง หรือ '''เหียบ''' ตามสำเนียงจีนฮกเกี้ยน ({{Zh-all|c=協|p=Xié}}) หรือมักเรียกกันว่า '''ฮวังจื่อเสีย''' ตามสำเนียงกลาง หรือ '''หองจูเหียบ''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ({{Zh-all|c=皇子協|p=Huáng zǐ Xié}}; "ราชบุตรเสีย/เหียบ") หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม '''พระเจ้าเหี้ยนเต้''' (ตามที่ปรากฏใน[[สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)]]) เป็น[[ฮ่องเต้|พระจักรพรรดิ]]หรือฮ่องเต้พระองค์หนึ่งของ[[ราชวงศ์ฮั่น]] และเป็นหนึ่งในตัวละครตาม[[วรรณกรรมสามก๊ก]]ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์
 
เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี [[พ.ศ. 724]] เป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าเลนเต้]](漢靈帝) และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาในพระเจ้าเซ่าเต้ ขึ้นครองราชย์จากการที่ [[ตั๋งโต๊ะ]](董卓) ต้องการสร้างบารมีแก่ตน โดยการเปลี่ยนองค์พระจักรพรรดิ โดยปลดพระเจ้าเซ่าเต้(漢少帝)ออกจากพระราชบัลลังก์ แล้วอัญเชิญหองจูเหียบ(皇子協) ซึ่งเห็นว่ามีสติปัญญาดีขึ้นเป็นฮ่องเต้แทน หองจูเหียบจึงได้ขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้(漢獻帝)แห่งต้าฮั่นในปี [[พ.ศ. 732]] ขณะมีพระชนมายุเพียง 8 พรรษา โดยการครองราชย์นั้นในช่วงแรกแทบไม่ได้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจใด ๆ เพราะหลังจากตั๋งโต๊ะตั้งพระองค์เป็นฮ่องเต้ ก็กุมอำนาจเบ็ดเสร็จในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ทำอะไรไม่ปรึกษาใคร เหมือนว่าตั๋งโต๊ะไม่เห็นพระเจ้าเหี้ยนเต้อยู่ในสายตา แม้ว่าตั๋งโต๊ะจะถึงขนาดเผาเมืองหลวง สร้างราชธานีขึ้นใหม่ก็ทรงทำอะไรไม่ได้
 
จนตั๋งโต๊ะสิ้นชีพไปในปี [[พ.ศ. 735]] ทรงเริ่มปฏิบัติพระราชภารกิจไปบ้างเล็กน้อย แต่การจะให้พระเจ้าเหี้ยนเต้ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง 11 พรรษาปกครองประเทศจีน ดูจะยากเกินไป พระเจ้าเหี้ยนเต้เริ่มกลายเป็นเหมือนหุ่นเชิดของเหล่าขุนนางและ[[สิบขันที]] ดังนั้น ในปี [[พ.ศ. 739]] [[โจโฉ]] ก็เข้ามาเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และเริ่มที่จะสร้างอิทธิพลครอบงำราชสำนัก พระองค์ก็มิอาจทำอะไรได้ แม้จะทรงมีหนังสือลับที่เขียนด้วยพระโลหิตของพระองค์เองส่งไปหา[[เล่าปี่]] ซึ่งทรงถือเป็นพระปิตุลา (พระเจ้าอา) ให้กำจัดโจโฉ เพราะทรงเริ่มเห็นถึงความกำเริบของโจโฉ แม้โจโฉบางครั้งอาจจะทำตัวเทียบบารมีพระเจ้าเหี้ยนเต้ แต่ก็ไม่เคยคิดตั้งตนเป็นพระจักรพรรดิเอง และเมื่อพระเจ้าเหี้ยนเต้ทรงบรรลุนิติภาวะ โจโฉก็กลับไปทำหน้าที่เดิมของตน และความสัมพันธ์ระหว่างโจโฉกับพระเจ้าเหี้ยนเต้ก็เริ่มบั่นทอน เพราะโจโฉเริ่มมีการแสวงหาอำนาจ จนกระทั่งขอเป็นอ๋องแห่ง[[วุยก๊ก]] พระเจ้าเหี้ยนเต้ทรงกริ่งพระทัย แต่เมื่อโจโฉได้ยก[[โจเฮา]] บุตรีคนหนึ่งให้เป็นพระมเหสี ในปี [[พ.ศ. 757]] พระเจ้าเหี้ยนเต้จึงทรงพระราชทานตำแหน่ง[[อ๋อง]]หรือ ผู้ปกครองแคว้น ให้ แล้วโจโฉก็พอพระทัย ไม่ต้องการอะไรเพิ่ม ครองแคว้นเว่ยไปอย่างสงบ แต่ตลอดเวลาตั้งแต่นั้น พระเจ้าเหี้ยนเต้ก็ทรงเป็นเหมือนหุ่นเชิดของก๊กทั้งสาม ไปมาๆ
 
จนวุยอ๋องโจโฉสิ้นพระชนม์ [[โจผี]] พระโอรสในพระเจ้าโจโฉขึ้นเป็นอ๋องครองแคว้นเว่ยต่อจากโจโฉผู้เป็นพระบิดา วุยอ๋องโจผีมีพระทัยที่เหิมเกริมจนขับไล่พระเจ้าเหี้ยนเต้ออกไปจากราชบัลลังก์ในปี [[พ.ศ. 763]] และขึ้นเป็นพระจักรพรรดิแห่งแคว้นเว่ยเสีย แต่ว่าราชวงศ์ฮั่นยังไม่สิ้นสุดเมื่อฮันต๋งอ๋อง[[เล่าปี่]] สถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระมหาจักรพรรดิในแดนเสฉวนเพื่อรักษาราชวงศ์ฮั่นและเชื้อสายราชตระกูลเล่า และในปี [[พ.ศ. 772]] ง่ออ๋อง[[ซุนกวน]]ก็สถาปนาตนเองขึ้นเป็นมหาจักรพรรดิในแดนกังตั๋งเช่นกัน นับแต่นั้นมาแผ่นดินจีนก็แตกออกเป็นสามอาณาจักรอย่างแท้จริง
 
พระเจ้าเหี้ยนเต้ถูกลดพระอิสริยยศจากพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ เป็น ชนชั้นสูง ตำแหน่ง ซานหยางกง ถูกเนรเทศพร้อมครอบครัวให้ไปอยู่ที่ เมืองซานหยาง และใช้ชีวิตในบั้นปลายอย่างสงบสุขเรื่อยมา โดยท่านกับพระนางโจเฮา มักไปเก็บสมุนไพรบนเขา และท่องไปตามหมู่บ้าน รักษาโรค ช่วยเหลือประชาชน เป็นที่รักใคร่ของผู้คนเป็นอันมาก จนได้ขนานนามว่า แพทย์พญามังกรพญาหงส์ พระเจ้าเหี้ยนเต้มีชีวิตต่อมาอีก 14 ปี จนเสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 777]] ขณะมีพระชนมายุ 53 พรรษา ในรัชสมัยของพระเจ้าโจยอย ปิดฉากตำนานแห่งจักรพรรดิ์หุ่นเชิดโดยสมบูรณ์ และได้รับการบรรจุพระศพด้วยเกียรติยศดังพระจักรพรรดิ์ตามพิธีของราชวงศ์ฮั่น โดยมีพระเจ้าโจยอยเป็นผู้ไว้ทุกข์ให้ตามจารีตธรรมเนียม เนื่องจากบุตรชายเสียชีวิตหมดแล้ว และจากนั้นอีก 26 ปีถัดมา พระนางโจเฮาก็สวรรคตตามไป ในรัชสมัยของพระเจ้าโจฮวน พระศพของทั้งคู่ถูกฝังไว้เคียงข้างกัน ณ สุสานจังหลิง โดยปัจจุบันสุสานแห่งนี้ยังอยู่ในสภาพสมบูณ์ ถึงแม้กาลเวลาจะล่วงเลยมาเกือบ 1,800 ปี เนื่องจากถูกดูแลอย่างดีจากชาวเมืองซึ่งเชื่อว่าตนเป็นลูกหลานของพระเจ้าเหี้ยนเต้
 
พระเจ้าเหี้ยนเต้มีบุตรสาว 3 คน โดยบุตรสาว 2 คนแรก เกิดจากสนม ภายหลังได้ยกให้เป็นสนมของพระเจ้าโจผี และเกิดจากพระนางโจเฮา 1 คน คือ องค์หญิงหลิวมั่น ขณะที่มีบุตรชายซึ่งเกิดจากพระนางฮกเฮา 2 คน (ถูกโจโฉฆ่าตายไปพร้อมแม่) และบุตรชายที่เกิดจากสนม 4 คน ทั้งนี้ยังคงมีสายตระกูลของพระเจ้าเหี้ยนเต้สืบต่อกันมาอีกสามชั่วคน โดนหลังจากพระเจ้าเหี้ยนเต้สวรรคต หลานชาย ชื่อ หลิวคัง, เหลนชาย ชื่อ หลิวจิน และลื่อชาย ชื่อ หลิวชง ได้รับตำแหน่งต่อมาร่วม 75 ปี จนถึงช่วงปลายราชวงศ์จิ้น ชนเผ่า[[ซฺยงหนู]] ได้กรีฑาทัพเข้ามารุกรานเมืองซานหยาง ทำให้สายตระกูลในการสืบทอดตำแหน่งซานหยางกงสิ้นสุดลง แต่มีทายาทรุ่นหลังของพระเจ้าเหี้ยนเต้คนหนึ่ง ชื่อ หลิวอาจือ ได้ตัดสินใจพาครอบครัวและคณะกว่าสองพันคน ลงเรือหนีภัยสงครามอพยพไปเกาะญี่ปุ่น และได้เข้ารับราชการในราชสำนักญี่ปุ่น เป็นต้นตระกูล ‘ฮาราดะ’ และแยกสายตระกูลออกไปอีกนับสิบสกุล การย้ายไปตั้งถิ่นฐานในญี่ปุ่นครั้งนั้น ได้นำเอาอารยธรรมแบบจีนไปเผยแผ่แก่ญี่ปุ่น ซึ่งขณะนั้นอารยธรรมญี่ปุ่นโบราณยังไม่เจริญนัก ทำให้อารยธรรมญี่ปุ่นส่วนมากได้รับอิทธิพลมาจากจีน และได้รับเอาตัวอักษรแบบจีนซึ่งมีรากฐานมาจากอักษรภาพมาใช้ และโดยผ่านทางสื่อตัวอักษรนี้เอง ชาวญี่ปุ่นได้เรียนความรู้เบื้องต้นทางการแพทย์ การใช้ปฏิทินและดาราศาสตร์ ตลอดจนปรัชญาของลัทธิขงจื๊อ
 
== พระบรมวงศานุวงศ์ ==
* '''พระราชบิดา''' [[พระเจ้าเลนเต้]]
* '''พระราชมารดา''' [[จักรพรรดินีหลิงเจิน|พระสนมอองบีหยิน]]
* '''พระเชษฐาธิราช''' [[หองจูเปียน]] หรือ [[พระเจ้าฮั่นเซ่าตี้]]
* '''พระปิตุลาธิราช''' พระเจ้าเจียงบู๊เต้ หรือ [[พระเจ้าเล่าปี่]]
* '''พระมเหสี/พระสนม'''
**[[ฮกเฮา|พระนางฮกฮองเฮา]] บุตรีของฮกอ้วน
** [[โจเฮา|พระนางโจฮองเฮา]] พระธิดาใน[[พระเจ้าโจโฉ]]
** [[พระสนมตังกุยฮุย]] น้องสาวของตังสิน
**พระสนมโจเซียง (曹憲) ลูกสาวของโจโฉ
**พระสนมโจฮัว (曹華) ลูกสาวของโจโฉ
**สนมกัว
**สนมเจ้า
 
== อ้างอิง ==
*{{cite book|author=[[Chen Shou]]|title=[[Records of Three Kingdoms]]|publisher=Yue Lu Shu She|year=2002|isbn=7-80665-198-5}}
*{{cite book|author=[[Fan Ye (historian)|Fan Ye]]; [[Sima Biao]]|title=[[Book of the Later Han]]|publisher=Yue Lu Shu She|year=2009|isbn=7-80761-107-3}}
== ดูเพิ่ม ==
* [http://samkok.911mb.com/index.php/?cmd=post&id=140 โองการเลือดของพระเจ้าเหี้ยนเต้]
{{commonscat|Emperor Xian of Han|หองจูเหียบ}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
|จำนวนก่อนหน้า = 3
|จำนวนตำแหน่ง = 3
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิฮั่นเซ่า]] <br />(หองจูเปียน)<br />
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิจีน]]<br /><small>[[ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก]]</small><br />
| ปี = ค.ศ. 189–220
| ถัดไป = [[เล่าปี่]] <small>([[จ๊กก๊ก]])</small>
}}
{{สืบตำแหน่ง
| ถัดไป = [[โจผี]] <small>([[วุยก๊ก]])</small>
}}
{{สืบตำแหน่ง
| ถัดไป = [[ซุนกวน]] <small>([[ง่อก๊ก]])</small>
}}
{{สืบตำแหน่ง
| ตำแหน่ง = ชานหยางกง (ซันเอียงก๋ง)
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = ''ว่าง'' <br /> <small>ผู้ดำรงตำแหน่งคนล่าสุดที่ทราบคือ<br />หลิว จิง<small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = หลิว คาง
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = ค.ศ. 220–234
}}
{{จบกล่อง}}
 
ใน ค.ศ. 189 ขณะหฺวังจื่อเสียพระชนม์ได้ 8 ปี ขุนพล[[ตั๋งโต๊ะ|ต่ง จั๋ว]] (董卓; ฮกเกี้ยนว่า "ตั๋งโต๊ะ") ถอดหฺวังจื่อเปี้ยนออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแทน โดยที่ต่ง จั๋ว ควบคุมราชการทั้งสิ้นทั้งปวงในทางปฏิบัติ ครั้นปีถัดมา ขุนพลจากภูมิภาครวมกำลังกันมา[[ศึกปราบตั๋งโต๊ะ|ปราบต่ง จั๋ว]] ทำให้ต่ง จั๋ว สั่งเผาพระนคร[[ลั่วหยาง]] (洛阳; ฮกเกี้ยนว่า "ลกเอี๋ยง") แล้วบีบให้พระองค์ไปอยู่พระนครแห่งใหม่ คือ [[ฉางอาน]] (長安; ฮกเกี้ยนว่า "เตียงฮัน") แต่เมื่อต่ง จั๋ว ถูกลอบสังหารใน ค.ศ. 192 พระองค์ก็ตกไปอยู่ในความควบคุมของบริวารต่ง จั๋ว คือ [[ลิฉุย|หลี่ เจว๋]] (李傕; ฮกเกี้ยนว่า "ลิฉุย") กับ[[กุยกี|กัว ซื่อ]] (郭汜; ฮกเกี้ยนว่า "กุยกี") ครั้น ค.ศ. 195 พระองค์อาศัยโอกาสที่หลี่ เจว๋ กับกัว ซื่อ วิวาทกันเอง ลอบหนีออกจากฉางอานไปลี้เร้นอยู่ในลั่วหยาง พระนครเดิมอันเหลือแต่ซาก หนึ่งปีให้หลัง ขุนพล[[โจโฉ|เฉา เชา]] (曹操; ฮกเกี้ยนว่า "โจโฉ") นำกำลังไปรับเสด็จ และได้พระองค์มาอยู่ในเงื้อมมือแทน เฉา เชา นำพาพระองค์ไปอารักขาไว้ที่พระนครแห่งใหม่ คือ [[สฺวี่ชาง|สฺวี่ตู]] (許都; ฮกเกี้ยนว่า "ฮูโต๋"; แปลว่า "นครสฺวี่/ฮู") ถึงแม้เฉา เชา จะเคารพพระองค์ในฐานะประมุขแห่งรัฐ แต่อำนาจปกครองที่แท้จริงอยู่ที่เฉา เชา อัครมหาเสนาบดีผู้ใช้พระองค์เป็นตราประทับรับรองความชอบธรรมในคำสั่งต่าง ๆ ของตนเอง จนกระทั่งเฉา เชา ถึงแก่กรรมในปลาย ค.ศ. 220 [[โจผี|เฉา พี]] (曹丕; ฮกเกี้ยนว่า "โจผี") ขึ้นสืบตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีแทน และบีบพระองค์ให้สละราชสมบัติแก่ตน เฉา พี ตั้งราชวงศ์ใหม่ คือ [[วุยก๊ก|เฉาเว่ย์]] (曹魏; ฮกเกี้ยนว่า "โจวุย") นับเป็นจุดสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของตระกูลหลิว
 
เมื่อพ้นราชสมบัติแล้ว หฺวังจื่อเสียได้รับบรรดาศักดิ์ "ชานหยางกง" (山陽公) จากเฉา พี และใช้ชีวิตสืบมาด้วยความสุขสบาย จนถึงแก่ความตายเมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 234 ราว 14 ปีหลังจากราชวงศ์ฮั่นตะวันออกล่มสลาย
 
{{จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น}}
{{ตัวละครในสามก๊ก}}
{{birth|181}}{{death|234}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในยุคสามก๊ก|พระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ปี ค.ศ. 181]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่เสียชีวิตในปี ค.ศ. 2|พระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้234]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3|พระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ยุคสามก๊ก]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิบุคคลในยุคสามก๊ก|เซี่ยนคริสต์ศตวรรษที่ 2]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 3]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิในยุคสามก๊ก]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่นตะวันออก|เซี่ยน]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสละราชบัลลังก์]]