ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดัชนีมวลกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
BMT พยายามวัดปริมาณมวลเนื้อเยื่อ (กล้ามเนื้อ ไขมันและกระดูก) ในตัวบุคคล แล้วจำแนกบุคคลนั้นว่าน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ น้ำหนักตามเกณฑ์ น้ำหนักเกินเกณฑ์หรือ[[โรคอ้วน|อ้วน]]ขึ้นอยู่กับค่าที่ได้ พิสัย BMI ที่ยอมรับกันทั่วไปมีดังนี้ น้อยกว่า 18.5 คือ ต่ำกว่าเกณฑ์, 18.5 ถึง 25 คือ ตามเกณฑ์, 25 ถึง 30 คือ เกินเกณฑ์ และเกิน 30 คือ อ้วน อย่างไรก็ดี มีข้อโต้เถียงอยู่บ้างว่าเส้นแบ่งระหว่างหมวดบนมาตรา BMI ควรอยู่ที่ใด<ref>{{cite web|url=http://www.independent.co.uk/life-style/health-and-families/features/why-being-overweight-means-you-live-longer-the-way-scientists-twist-the-facts-10158229.html |title=Why being 'overweight' means you live longer: The way scientists twist the facts |author=Dr Malcolm Kendrick |publisher=[[The Independent (Newspaper)|http://www.independent.co.uk]] |date=April 12, 2015 |accessdate=12 April 2015}}</ref>
 
<math>\mathrm{BMI}=\frac{\mathrm{Weight}}{\mathrm{Height}^2}</math>
 
ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) คือ ค่าที่สามารถวัดได้จากน้ำหนักของแต่ละบุคคลต่อความสูง ซึ่งค่าดัชนีมวลกายนี้มักถูกนำไปใช้เป็นตัวชี้วัดของปริมาณไขมันที่มีอยู่ในร่างกายของคนเรา (Body fat) ซึ่งองค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ได้เป็นผู้กำหนดค่ามาตรฐาน BMI สำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป เพื่อใช้เป็นดัชนีชี้วัดปริมาณไขมันในร่างกายเพื่อระบุถึงความเสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วนหรือผอมจนเกินไปโดยกำหนดไว้ดังนี้