ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินทุรัตนา บริพัตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
 
== ประวัติ==
อินทุรัตนาเป็นพระธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ประสูติแต่[[หม่อมสมพันธุ์ บริพัตร ณ อยุธยา]] (สกุลเดิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; ธิดาพระยาวทัญญูวินิจฉัย (หม่อมหลวงชุ่ม ปาลกะวงศ์)) ประสูติเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464 (แบบสากลคือ พ.ศ. 2465) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 6 เมื่อประสูติดำรงพระยศที่ "หม่อมเจ้าอินทุรัตนา" มีโสทรานุชาสององค์ คือ [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์|หม่อมเจ้าสุขุมาภินันท์]] และหม่อมเจ้าชาย(ยังไม่มีพระนาม; ถึง(สิ้นชีพิตักษัยหลังประสูติได้ 3-4 วัน ในปลายรัชกาลที่ 6)<ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง =
| ชื่อหนังสือ = เนื่องในงานพระราชทานเพลิงพระศพ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงพิสิฐสบสมัย
บรรทัด 60:
| จำนวนหน้า = 360
}}</ref> ต่อมาขณะมีพระชันษา 10 ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิธีโสกันต์และเกศากันต์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา]] และ[[หม่อมเจ้ากาญจนฉัตร ศุขสวัสดิ์|หม่อมเจ้ากาญจนฉัตร ฉัตรชัย]] เมื่อวันที่ 28-29 มีนาคม พ.ศ. 2474 (แบบสากลคือ พ.ศ. 2475) นับเป็นพิธีโสกันต์และเกศากันต์ครั้งสุดท้าย ก่อนที่พระราชพิธีนี้จะถูกยกเลิกไปในสามเดือนถัดมา หลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]]
 
ปัจจุบัน [[พระบรมวงศานุวงศ์]]ที่ได้โสกันต์และเกศากันต์ต่างสิ้นพระชนม์และถึงชีพิตักษัยกันหมดแล้ว เหลืออินทุรัตนาที่ยังมีพระชนม์อยู่เพียงองค์เดียว
 
== ชีวิตครอบครัว ==
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา ได้ขอพระราชทานกราบถวายบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เพื่อสมรสกับร้อยเอก[[สมหวัง สารสาส]] เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496<ref>
{{cite journal
| journal = ราชกิจจานุเบกษา
เส้น 84 ⟶ 82:
| ISBN = 978-974-312-022-0
| จำนวนหน้า = 290
}}</ref> โดยพิธีสมรสกันจัดขึ้นในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 ทั้งสองมีบุตร-ธิดาด้วยกันสามคน ได้แก่<ref>เจฟฟรี่ ไฟน์สโตน. ''จุฬาลงกรณราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย''. กรุงเทพฯ : พิษณุโลกการพิมพ์, 2532, หน้า 434</ref>
# ธรณินทร์ สารสาส (เกิด 20 กันยายน พ.ศ. 2496) สมรสกับสุนิตรา เรืองสมวงศ์
# [[สินนภา สารสาส]] (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) สมรสกับอนันต์ ตาราไต (หย่า)
เส้น 115 ⟶ 113:
}}
 
ทั้งนี้อินทุรัตนาเป็นพระราชนัดดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ชั้นพระองค์เจ้าพระองค์เดียวที่ลาออกจากฐานันดรศักดิ์ เป็นพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่พระชันษาสูงที่สุดใน[[ราชวงศ์จักรี]] และเป็นป้าของ[[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]] อดีต[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]
 
==ลำดับสาแหรก==